กลับหน้าแรก มสธ.
| STOU | Home |
Administrator
หน้าหลักโครงสร้างหลักสูตร
ประจำปีการศึกษา 2549

| กระดานถาม-ตอบหลักสูตรคำถามถามบ่อย FAQs | ติดต่อสอบถาม |

โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์
โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์

นิติศาสตร์
ระดับหลักสูตร
  • ปริญญาตรี  (4  ปี)
  • ปริญญาตรีต่อเนื่อง  (3  ปี) 
  • ประกาศนียบัตร  (2  ปี)
ชื่อหลักสูตรและชื่อปริญญา

 

1.       หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต

Bachelor  of  Laws  Program

      ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม
นิติศาสตรบัณฑิต
อักษรย่อ
..
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor  of  Laws
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
LL.B.

           

2.       หลักสูตรอนุปริญญานิติศาสตร์

Diploma  Program  in  Laws

      ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม
อนุปริญญานิติศาสตร์
อักษรย่อ
อนุ  ..
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Diploma  in  Laws
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Dip. in  Laws

           

3.       หลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายการที่ดินและทรัพย์สิน

Certificate  Program  in  Land  and  Property  Law

      ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม
ประกาศนียบัตรกฎหมายการที่ดินและทรัพย์สิน
อักษรย่อ
.กท.
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate  in  Land  and  Property  Law
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert.  in  LPL.

 

คุณสมบัติของผู้สมัคร

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)              

1.  สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ                                   

2.  สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบ

     อาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5  ปี หลังสำเร็จการศึกษา  นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา   หรือ                                 

3.  สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่

     ต่ำกว่า 25  ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา  หรือ

4.  สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการ

     อบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

5.  สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือ                         

6.  สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ทุกสาขาวิชา   

                                   

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (3 ปี)                          

1.  สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่าในสาขาวิชาอื่น จากสถาบันการศึกษาที่สภาวิชาการ

     มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรับรอง หรือ                  

2.  สำเร็จการศึกษาขั้นอนุปริญญาที่มีหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 3 ปี หรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาวิชาการ

     มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรับรอง หรือ                  

3.  สำเร็จการศึกษาขั้นอนุปริญญาที่มีหลักสูตรไม่ถึง 3 ปี หรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาวิชาการ

     มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรับรอง       

                                                        

ระดับประกาศนียบัตร (2 ปี)

ประกาศนียบัตรกฎหมายการที่ดินและทรัพย์สิน (.กท.)           

ผู้สมัครต้องเป็นข้าราชการกรมที่ดินและมีคุณสมบัติดังนี้                           

1.  สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ                 

2.  สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบ

     อาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา  นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ                                  

3.  สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่

     ต่ำกว่า 25  ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ

4.  สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการ

     อบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

5.  สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)  

สำเร็จการศึกษา ม.3 หรือเทียบเท่า  หรือ ม.6  หรือเทียบเท่า  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)  โครงสร้างของหลักสูตร

. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                5    ชุดวิชา               (30  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาแกน              7    ชุดวิชา               (42  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเฉพาะ                     11    ชุดวิชา                (66  หน่วยกิต)

    โดยแบ่งเป็น

    1) ชุดวิชาบังคับ            10  ชุดวิชา         (60  หน่วยกิต)

    2) ชุดวิชาเลือก               1  ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1    ชุดวิชา                (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  24 ชุดวิชา หรือ  144 หน่วยกิต

(2)  รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   5  ชุดวิชา

บังคับ  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

และเลือก  4  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

10103 ทักษะชีวิต

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10121 อารยธรรมมนุษย์

10131 สังคมมนุษย์            

10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10152 ไทยกับสังคมโลก

10161 การใช้ภาษาไทย

.   หมวดวิชาแกน   7   ชุดวิชา

40101 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

41201 กฎหมายมหาชน

41211 กฎหมายแพ่ง 1: บุคคล  นิติกรรม สัญญา

41212 กฎหมายแพ่ง 2: หนี้  ละเมิด

41213 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน

41231 กฎหมายอาญา 1:  ภาคบทบัญญัติทั่วไป

41232 กฎหมายอาญา 2: ภาคความผิด

.   หมวดวิชาเฉพาะ   11  ชุดวิชา

บังคับ 10 ชุดวิชา

41311 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก

41321 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ

41322 กฎหมายพาณิชย์ 2: ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

41323 กฎหมายพาณิชย์ 3: ประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ ตั๋วเงิน

41324 กฎหมายพาณิชย์ 4: หุ้นส่วน บริษัท

41341 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1: หลักทั่วไปในวิธีพิจารณาความแพ่ง

41342 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 2: วิธีพิจารณาความแพ่งและกฎหมายล้มละลาย

41343 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 3: วิธีพิจารณาความอาญา

41444 ประสบการณ์วิชาชีพกฎมาย

41451 กฎหมายระหว่างประเทศ  

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

41401 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย

41402 ระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ

41403 กฎหมายกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม

41404 กฎหมายแรงงาน

41405 กฎหมายสิ่งแวดล้อม

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

41421 กฎหมายภาษีอากร 1: ภาษีเงินได้

41423 กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ

41431 การบริหารงานยุติธรรม

41432 กฎหมายอาญา 3: ความผิดอาญาตามกฎหมายอื่น

41452 สถาบันระหว่างประเทศ

 41454 กฎหมายสิทธิมนุษยชน

 41455 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

. หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา   ให้ศึกษาจากชุดวิชาต่างๆ  ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

      

   

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

สำเร็จการศึกษา ปวท. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ หรือ ปวส. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

และศิลปศาสตร์ (ภาษาต่างประเทศ)  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)  โครงสร้างของหลักสูตร

. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                3    ชุดวิชา         (18  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาแกน              7    ชุดวิชา         (42  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเฉพาะ                     11    ชุดวิชา          (66  หน่วยกิต)

    โดยแบ่งเป็น

    1) ชุดวิชาบังคับ            10  ชุดวิชา          (60  หน่วยกิต)

    2) ชุดวิชาเลือก              1  ชุดวิชา           (6  หน่วยกิต)

  . หมวดวิชาเลือกเสรี                   1    ชุดวิชา           (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  22 ชุดวิชา หรือ  132 หน่วยกิต

(2)  รายละเอียดของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3  ชุดวิชา

     10121 อารยธรรมมนุษย์

      10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

      10151 ไทยศึกษา

.  หมวดวิชาแกน   7   ชุดวิชา

     40101 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

 41201 กฎหมายมหาชน

 41211 กฎหมายแพ่ง 1: บุคคล  นิติกรรม สัญญา

 41212 กฎหมายแพ่ง 2: หนี้  ละเมิด

 41213 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน

 41231 กฎหมายอาญา 1:  ภาคบทบัญญัติทั่วไป

 41232 กฎหมายอาญา 2: ภาคความผิด

.  หมวดวิชาเฉพาะ   11  ชุดวิชา

     บังคับ 10 ชุดวิชา

41311 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก

41321 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ

41322 กฎหมายพาณิชย์ 2: ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

41323 กฎหมายพาณิชย์ 3: ประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ ตั๋วเงิน

41324 กฎหมายพาณิชย์ 4: หุ้นส่วน บริษัท

41341 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1: หลักทั่วไปในวิธีพิจารณาความแพ่ง

41342 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 2: วิธีพิจารณาความแพ่งและกฎหมายล้มละลาย

41343 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 3: วิธีพิจารณาความอาญา

41444 ประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย

41451 กฎหมายระหว่างประเทศ

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

           41401 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย

           41402 ระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ

           41403 กฎหมายกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม

           41404 กฎหมายแรงงาน

           41405 กฎหมายสิ่งแวดล้อม

           41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

           41421 กฎหมายภาษีอากร 1: ภาษีเงินได้

           41423 กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ

           41431 การบริหารงานยุติธรรม

           41432 กฎหมายอาญา 3: ความผิดอาญาตามกฎหมายอื่น

           41452 สถาบันระหว่างประเทศ

           41454 กฎหมายสิทธิมนุษยชน

           41455 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา   ให้ศึกษาจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

สำเร็จการศึกษา ปวท. ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม เกษตรกรรม คหกรรม และศิลปหัตถกรรม หรือปวส. ประเภทวิชา

คหกรรม เกษตรกรรม ช่าง (ช่างโยธา ช่างไฟฟ้า ช่างกล ช่างอุตสาหกรรม ช่างพิมพ์ และช่างภาพ) เคมิอุตสาหกรรม และศิลปหัตถกรรม  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)  โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3    ชุดวิชา               (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         7    ชุดวิชา               (42  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    11    ชุดวิชา                (66  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1) ชุดวิชาบังคับ           10  ชุดวิชา          (60  หน่วยกิต)

     2) ชุดวิชาเลือก             1  ชุดวิชา           (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1    ชุดวิชา                 (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  22 ชุดวิชา หรือ 132 หน่วยกิต

(2)  รายละเอียดของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3  ชุดวิชา

     10121 อารยธรรมมนุษย์

     10131 สังคมมนุษย์

     10151 ไทยศึกษา

.  หมวดวิชาแกน   7   ชุดวิชา

     40101 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

     41201 กฎหมายมหาชน

     41211 กฎหมายแพ่ง 1: บุคคล  นิติกรรม สัญญา

     41212 กฎหมายแพ่ง 2: หนี้  ละเมิด

     41213 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน

     41231 กฎหมายอาญา 1:  ภาคบทบัญญัติทั่วไป

     41232 กฎหมายอาญา 2: ภาคความผิด

.  หมวดวิชาเฉพาะ   11  ชุดวิชา

บังคับ 10 ชุดวิชา

41311 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก

41321 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ

41322 กฎหมายพาณิชย์ 2: ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

41323 กฎหมายพาณิชย์ 3: ประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ ตั๋วเงิน

41324 กฎหมายพาณิชย์ 4: หุ้นส่วน บริษัท

41341 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1: หลักทั่วไปในวิธีพิจารณาความแพ่ง

41342 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 2: วิธีพิจารณาความแพ่งและกฎหมายล้มละลาย

    41343 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 3: วิธีพิจารณาความอาญา

41444 ประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย

    41451 กฎหมายระหว่างประเทศ

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

41401 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย

41402 ระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ

41403 กฎหมายกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม

41404 กฎหมายแรงงาน

41405 กฎหมายสิ่งแวดล้อม

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

41421 กฎหมายภาษีอากร 1: ภาษีเงินได้

41423 กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ

41431 การบริหารงานยุติธรรม

41432 กฎหมายอาญา 3: ความผิดอาญาตามกฎหมายอื่น

41452 สถาบันระหว่างประเทศ

      41454 กฎหมายสิทธิมนุษยชน

      41455 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา   ให้ศึกษาจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่

มหาวิทยาลัยกำหนด ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

  

(3)  ข้อกำหนดอนุปริญญาทางนิติศาสตร์

นักศึกษาจะมีสิทธิได้รับอนุปริญญาในสาขาวิชานิติศาสตร์จะต้องศึกษาชุดวิชาต่างๆ ตามหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี)         ไม่น้อยกว่า 19 ชุดวิชา หรือ 114 หน่วยกิต ตามเงื่อนไขดังนี้

ก.  ได้ศึกษาและสอบไล่ได้หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  5  ชุดวิชา  หรือ  30  หน่วยกิต

.  ได้ศึกษาและสอบไล่ได้หมวดวิชาแกน  6  ชุดวิชา   หรือ  36  หน่วยกิต  ดังนี้

40101 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

41211 กฎหมายแพ่ง 1: บุคคล นิติกรรม สัญญา

41212 กฎหมายแพ่ง 2: หนี้ ละเมิด

41213 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน

41231 กฎหมายอาญา 1: ภาคบทบัญญัติทั่วไป

41232 กฎหมายอาญา 2: ภาคความผิด

.  ได้ศึกษาและสอบไล่ได้หมวดวิชาเฉพาะ  8  ชุดวิชา  หรือ  48  หน่วยกิต ดังนี้

41311 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก

41321 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ

41322 กฎหมายพาณิชย์ 2: ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

41323 กฎหมายพาณิชย์ 3: ประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ ตั๋วเงิน

41324 กฎหมายพาณิชย์ 4: หุ้นส่วน บริษัท

41341 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1: หลักทั่วไปในวิธีพิจารณาความแพ่ง

41342 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 2: วิธีพิจารณาความแพ่งและกฎหมายล้มละลาย

41343 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 3: วิธีพิจารณาความอาญา

 

  

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (3 ปี)

สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่าในสาขาวิชาอื่น หรือสำเร็จการศึกษาขั้นอนุปริญญาที่มีหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 3 ปี หรือเทียบเท่า   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)  โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาแกน             7   ชุดวิชา          (42  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                   11    ชุดวิชา           (66  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ          10  ชุดวิชา          (60  หน่วยกิต)

2) ชุดวิชาเลือก            1  ชุดวิชา           (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 18 ชุดวิชา หรือ 108 หน่วยกิต

(2)  รายละเอียดของหลักสูตร

.  หมวดวิชาแกน  7  ชุดวิชา

40101 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

41201 กฎหมายมหาชน

41211 กฎหมายแพ่ง 1: บุคคล  นิติกรรม สัญญา

41212 กฎหมายแพ่ง 2: หนี้  ละเมิด

41213 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน

41231 กฎหมายอาญา 1:  ภาคบทบัญญัติทั่วไป

41232 กฎหมายอาญา 2: ภาคความผิด

.  หมวดวิชาเฉพาะ  11  ชุดวิชา

บังคับ 10 ชุดวิชา

41311 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก

41321 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ

41322 กฎหมายพาณิชย์ 2: ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

41323 กฎหมายพาณิชย์ 3: ประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ ตั๋วเงิน

41324 กฎหมายพาณิชย์ 4: หุ้นส่วน บริษัท

41341 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1: หลักทั่วไปในวิธีพิจารณาความแพ่ง

41342 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 2: วิธีพิจารณาความแพ่งและกฎหมายล้มละลาย

41343 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 3: วิธีพิจารณาความอาญา

41444 ประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย

41451 กฎหมายระหว่างประเทศ

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

41401 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย

41402 ระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ

41403 กฎหมายกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม

41404 กฎหมายแรงงาน

41405 กฎหมายสิ่งแวดล้อม

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

41421 กฎหมายภาษีอากร 1: ภาษีเงินได้

41423 กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ

41431 การบริหารงานยุติธรรม

41432 กฎหมายอาญา 3: ความผิดอาญาตามกฎหมายอื่น

41452 สถาบันระหว่างประเทศ

     41454 กฎหมายสิทธิมนุษยชน

     41455 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

  

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (3 ปี)

สำเร็จการศึกษาขั้นอนุปริญญาที่มีหลักสูตรไม่ถึง 3 ปี หรือเทียบเท่า  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)  โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               2   ชุดวิชา          (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         7   ชุดวิชา          (42  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    11   ชุดวิชา           (66  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ          10  ชุดวิชา          (60  หน่วยกิต)

      2) ชุดวิชาเลือก            1  ชุดวิชา           (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 20 ชุดวิชา หรือ 120 หน่วยกิต

(2)  รายละเอียดของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   2  ชุดวิชา

     10131 สังคมมนุษย์

     10151 ไทยศึกษา

.  หมวดวิชาแกน  7  ชุดวิชา

40101 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

41201 กฎหมายมหาชน

41211 กฎหมายแพ่ง 1: บุคคล  นิติกรรม สัญญา

41212 กฎหมายแพ่ง 2: หนี้  ละเมิด

41213 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน

41231 กฎหมายอาญา 1:  ภาคบทบัญญัติทั่วไป

41232 กฎหมายอาญา 2: ภาคความผิด

.  หมวดวิชาเฉพาะ  11  ชุดวิชา

     บังคับ 10 ชุดวิชา

41311 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก

41321 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ

41322 กฎหมายพาณิชย์ 2: ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

41323 กฎหมายพาณิชย์ 3: ประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ ตั๋วเงิน

41324 กฎหมายพาณิชย์ 4: หุ้นส่วน บริษัท

41341 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1: หลักทั่วไปในวิธีพิจารณาความแพ่ง

41342 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 2: วิธีพิจารณาความแพ่งและกฎหมายล้มละลาย

41343 กฎหมายวิธีสบัญญัติ 3: วิธีพิจารณาความอาญา

41444 ประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย

41451 กฎหมายระหว่างประเทศ

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

41401 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย

41402 ระบบกฎหมายไทยและต่างประเทศ

41403 กฎหมายกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม

41404 กฎหมายแรงงาน

41405 กฎหมายสิ่งแวดล้อม

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

41421 กฎหมายภาษีอากร 1: ภาษีเงินได้

41423 กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ

41431 การบริหารงานยุติธรรม

41432 กฎหมายอาญา 3: ความผิดอาญาตามกฎหมายอื่น

41452 สถาบันระหว่างประเทศ

      41454 กฎหมายสิทธิมนุษยชน

41455 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

 

  

ระดับประกาศนียบัตร (2 ปี)

ประกาศนียบัตรกฎหมายการที่ดินและทรัพย์สิน

สำเร็จการศึกษา ม.3 หรือเทียบเท่า หรือ ม.6 หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า มีโครงสร้าง

และรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)  โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาแกน                         6    ชุดวิชา         (36  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      6    ชุดวิชา         (36  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ชุดวิชา หรือ 72 หน่วยกิต

(2)  รายละเอียดของหลักสูตร

.  หมวดวิชาแกน 6 ชุดวิชา

40101 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

41201 กฎหมายมหาชน

41211 กฎหมายแพ่ง 1: บุคคล นิติกรรม  สัญญา

41212 กฎหมายแพ่ง 2: หนี้ ละเมิด

41213 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน

41231 กฎหมายอาญา 1: ภาคบทบัญญัติทั่วไป

.  หมวดวิชาเฉพาะ  6  ชุดวิชา

41311 กฎหมายแพ่ง 3: ครอบครัว มรดก

41321 กฎหมายพาณิชย์ 1: ซื้อขาย เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ

41322 กฎหมายพาณิชย์ 2: ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

41323 กฎหมายพาณิชย์ 3: ประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ ตั๋วเงิน

41324 กฎหมายพาณิชย์ 4: หุ้นส่วน  บริษัท

      41405 กฎหมายสิ่งแวดล้อม

 

 


คำอธิบายชุดวิชา
เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

                        การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี  นักศึกษาสามารถเลือกศึกษาได้จากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย  ยกเว้นชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

ก.      ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

ข.      ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่นๆ ในหลักสูตรที่เรียน

ค.      ชุดวิชาที่มีการกำหนดคุณสมบัติและทักษะพื้นฐานไว้โดยเฉพาะ

ชุดวิชาต่างๆ ที่สาขาวิชานิติศาสตร์ไม่อนุญาตให้เลือกเป็นชุดวิชาเลือกเสรีตามลักษณะดังกล่าวข้างต้นมีรายชื่อดังนี้

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  40103  กฎหมายเกษตร

19.   ชุดวิชา  40205  กฎหมายธุรกิจ

20.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

21.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

22.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

23.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

24.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

25.   ชุดวิชา  52204  กฎหมายสาธารณสุขและนิติเวชศาสตร์

26.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย  และเออร์กอนอมิคส์

27.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

28.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

29.   ชุดวิชา  70203  หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

30.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

31.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

32.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

33.   ชุดวิชา  81427  กฎหมายอาญา สำหรับรัฐศาสตร์

34.   ชุดวิชา  81428  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพยานหลักฐาน สำหรับรัฐศาสตร์

35.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

36.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

37.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

38.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

39.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

40.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

41.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

42.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

43.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

44.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

45.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

46.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์ไร้แรงกด

47.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเกินโครงสร้างหลักสูตร

 

นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนชุดวิชาหรือรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเกินโครงสร้างหลักสูตรได้ยกเว้นชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

1.  ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.  ชุดวิชา หรือรายวิชาที่มีเนื้อหาและภาคปฏิบัติในการอบรมเข้ม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการไว้เฉพาะสำหรับหลักสูตรนั้นๆ

3.  ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่นๆ ในหลักสูตรที่เรียน            

ชุดวิชาต่างๆ ที่สาขาวิชานิติศาสตร์ไม่อนุญาตให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเกินโครงสร้างหลักสูตรตามลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีรายชื่อดังนี้

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน 

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก  

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา  

18.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์ 

19.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

20.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย 

21.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม    

22.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

23.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร   

24.   ชุดวิชา  81427  กฎหมายอาญา  สำหรับรัฐศาสตร์

25.   ชุดวิชา  81428  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพยานหลักฐาน  สำหรับรัฐศาสตร์

26.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์ 

27.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม  

28.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ       

29.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

30.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก   

31.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

32.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

33.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ         

34.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล    

35.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์     

36.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ       

37.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์ไร้แรงกด

38.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

 
 
footer

ควรใช้ความละเอียดหน้าจอที่ 1024 by 768 pixels และ Internet Explorer version 5.5 + ขึ้นไป
จัดทำข้อมูลหลักสูตรโดยสำนักวิชาการ จัดทำระบบโดย คณะทำงานเผยแพร่สารสนเทศในระบบอินเตอร์เน็ต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Copyright © STOU Sukhothai Thammathirat OpenUniversity. All rights reserved.