กลับหน้าแรก มสธ.
| STOU | Home |
Administrator
หน้าหลักโครงสร้างหลักสูตร
ประจำปีการศึกษา 2549

| กระดานถาม-ตอบหลักสูตรคำถามถามบ่อย FAQs | ติดต่อสอบถาม |

โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

ส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ระดับหลักสูตร

         - แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร  วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร

         - แขนงวิชาสหกรณ์  วิชาเอกสหกรณ์

  • ปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี) 

         - แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร  วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร

         - แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร  วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม 

         - แขนงวิชาสหกรณ์  วิชาเอกสหกรณ์

         - แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช 

         - แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์ 

         - แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร  วิชาเอกธุรกิจการเกษตร
ชื่อหลักสูตรและชื่อปริญญา

 

1. หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร  วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร

    Bachelor  of  Agriculture  Program  in Agricultural  Extension

    ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

เกษตรศาสตรบัณฑิต  (ส่งเสริมการเกษตร)

อักษรย่อ           

กษ..  (ส่งเสริมการเกษตร)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor  of  Agriculture  (Agricultural  Extension)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ag.  (Agricultural  Extension)

2. หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร  วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม

    Bachelor  of  Agriculture  Program  in Forestry  and  Environmental  Extension

    ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

เกษตรศาสตรบัณฑิต  (ส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม)

อักษรย่อ           

กษ..  (ส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor of Agriculture  (Forestry and Environmental  Extension)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ag.  (Forestry  and  Environmental  Extension)

3. หลักสูตรส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์บัณฑิต  แขนงวิชาสหกรณ์  วิชาเอกสหกรณ์

    Bachelor  of  Agriculture Extension  and  Cooperatives  Program   

    ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

ส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์บัณฑิต 

อักษรย่อ           

สส.. 

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor  of  Agriculture  Extension and  Cooperatives

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ag.Ext.Coop.

4. หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช

    Bachelor  of  Agriculture  Program  in Crop  Production  Management

    ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

เกษตรศาสตรบัณฑิต  (การจัดการการผลิตพืช)

อักษรย่อ           

กษ..  (การจัดการการผลิตพืช)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor  of  Agriculture  (Crop  Production  Management)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ag.  (Crop  Production  Management)

5. หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์

    Bachelor  of  Agriculture  Program  in Animal  Production  Management

    ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

เกษตรศาสตรบัณฑิต  (การจัดการการผลิตสัตว์)

อักษรย่อ           

กษ.. (การจัดการการผลิตสัตว์)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor  of  Agriculture  (Animal  Production  Management)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ag.  (Animal  Production  Management)

6. หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร  วิชาเอกธุรกิจการเกษตร

    Bachelor  of  Agriculture  Program  in Agribusiness

    ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

เกษตรศาสตรบัณฑิต  (ธุรกิจการเกษตร)

อักษรย่อ           

กษ..  (ธุรกิจการเกษตร)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor  of  Agriculture  (Agribusiness)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ag.  (Agribusiness)

คุณสมบัติของผู้สมัคร

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร  วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร

1.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษารับรอง หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษารับรอง และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5  ปี หลังสำเร็จการศึกษา  นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25  ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ประเภทเกษตรกรรม  พาณิชยกรรม หรือประเภทอื่นที่เกี่ยวข้อง

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาสหกรณ์ วิชาเอกสหกรณ์

1.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า  5  ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า สาขาวิชาเกษตรกรรม   พาณิชยกรรม หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีประสบการณ์การทำงานไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา  หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรม พาณิชย กรรม และประเภทวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาทางวนศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ หรือเทียบเท่า หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)   หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าทางด้านเกษตรกรรม หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางวนศาสตร์ หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านเกษตรศาสตร์ หรือเทียบเท่า หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือ

7.       สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา  หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ทางการเกษตร

  

หมายเหตุ  สำหรับผู้ที่มีคุณสมบัติตามข้อ 7 กำหนดให้ศึกษาชุดวิชาเพิ่มเติมจากหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง (2  ปี)

              ในหมวดวิชาแกนอีก 3 ชุดวิชา ดังนี้

              1.  ชุดวิชา    90303  พืชเศรษฐกิจ 3.  ชุดวิชา    90406  ดิน  น้ำ  และปุ๋ย

              2.  ชุดวิชา    90305  การผลิตสัตว์

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาสหกรณ์   วิชาเอกสหกรณ์

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่า สาขาวิชาเกษตรกรรม พาณิชย กรรม และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีประสบการณ์ในการทำงานหลังจากสำเร็จการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านการเกษตร หรือเทียบเท่า

 

หมายเหตุ   ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)

               หรืออนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาอื่นที่ไม่ใช่ทางการเกษตร จากสถาบันการศึกษาที่

               สภามหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ หรือสำนักงาน ก..รับรอง  ทางมหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้เข้า

               ศึกษา  โดยกำหนดให้ศึกษาชุดวิชาเพิ่มเติมจากหลักสูตรระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์

1.  สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา  

     หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ

2.  สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านการเกษตร หรือเทียบเท่า

 

หมายเหตุ   ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)

               หรืออนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาอื่นที่ไม่ใช่ทางการเกษตร จากสถาบันการศึกษาที่

               สภามหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ หรือสำนักงาน ก..รับรอง  ทางมหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้เข้า

               ศึกษา  โดยกำหนดให้ศึกษาชุดวิชาเพิ่มเติมจากหลักสูตรระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร  วิชาเอกธุรกิจการเกษตร

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าทางด้านการเกษตร หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาบัญชี  การเงินและการธนาคาร หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางด้านบริหารธุรกิจ  หรือพาณิชยศาสตร์ทุกสาขาวิชา

 

หมายเหตุ   ผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือ

                อนุปริญญา  หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ  ที่ไม่ใช่ทางด้านการเกษตร  บัญชี การเงินและการธนาคาร 

                หรือปริญญาตรีที่ไม่ใช่ทางด้านการเกษตร บริหารธุรกิจ หรือพาณิชยศาสตร์จากสถาบันที่สภามหาวิทยาลัย

                หรือกระทรวงศึกษาธิการ หรือสำนักงาน ก.. รับรอง มหาวิทยาลัยอาจ พิจารณาให้เข้าศึกษาโดยกำหนด

               ให้ศึกษาชุดวิชาเพิ่มเติมจากหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง (2ปี) อีก  3  ชุดวิชา

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (4 ปี)

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร

สำเร็จการศึกษา ม.3 หรือเทียบเท่า  หรือ ม.6 หรือเทียบเท่า หรือ ปวช. หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม  พาณิชยกรรม  หรือประเภทอื่นที่เกี่ยวข้อง  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 5    ชุดวิชา   (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           5    ชุดวิชา   (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      13    ชุดวิชา   (78  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ            11   ชุดวิชา   (66  หน่วยกิต)

2) ชุดวิชาเลือก               2  ชุดวิชา    (12 หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1    ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  24  ชุดวิชา  หรือ  144  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5 ชุดวิชา

บังคับ  4  ชุดวิชา

10103 ทักษะชีวิต

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา

10152 ไทยกับสังคมโลก

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ข.      หมวดวิชาแกน  5  ชุดวิชา

90201 การจัดการฟาร์ม

90303 พืชเศรษฐกิจ

90305 การผลิตสัตว์

90406 ดิน น้ำ และปุ๋ย

90407 การพัฒนาชนบท

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  13  ชุดวิชา

บังคับ  11  ชุดวิชา

91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร

91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร

91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร

91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร

91350 การเป็นผู้นำ  มนุษยสัมพันธ์  และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร

91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร

91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

93335 วิทยาศาสตร์การผลิตพืช

93343 หลักโภชนศาสตร์และอาหารสัตว์

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

และเลือก  2  ชุดวิชา โดยเน้นเฉพาะกลุ่มชุดวิชาใดกลุ่มชุดวิชาหนึ่ง  หรือถ้าไม่เน้นเฉพาะกลุ่มนักศึกษาสามารถเลือกชุดวิชาคละกันได้ในกลุ่มชุดวิชาที่ต่างกัน ดังต่อไปนี้

กลุ่มชุดวิชาส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม

91324 หลักการส่งเสริมการป่าไม้เพื่อสิ่งแวดล้อม

91325 นิเวศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

91326 วนศาสตร์เกษตร

91427 การป่าไม้ชุมชน

91428 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม

กลุ่มชุดวิชาสหกรณ์

92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์

92217 ธนกิจและบัญชีสหกรณ์เพื่อการจัดการ

92219 สหกรณ์การขาย  การซื้อ และการบริการ

92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์

      92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป

กลุ่มชุดวิชาการจัดการการผลิตพืช

93336 การจัดการศัตรูพืช

93337 การปรับปรุงพันธุ์พืชและการขยายพันธุ์พืช

93456 การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

93457 การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

93458 การจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ

93459 การจัดการการผลิตไม้ผลและผักเชิงธุรกิจ

กลุ่มชุดวิชาการจัดการการผลิตสัตว์

93344 วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์

93345 การปรับปรุงพันธุ์และการสืบพันธุ์สัตว์

93446 การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

93447 การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

กลุ่มชุดวิชาธุรกิจการเกษตร

94330 การจัดการผลิตผลและการแปรรูปผลิตผลเกษตร

94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

.    หมวดวิชาเลือกเสรี   1  ชุดวิชา* ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

หมายเหตุ *  แนะนำให้นักศึกษาเลือกชุดวิชากฎหมายเกษตรหรือชุดวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการเกษตร

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาสหกรณ์ วิชาเอกสหกรณ์

สำเร็จการศึกษา ม.3 หรือเทียบเท่า หรือ ม.6  หรือเทียบเท่า หรือ ปวช. หรือเทียบเท่าสาขาวิชาเกษตรกรรม พาณิชย กรรม หรือสาขา อื่นที่เกี่ยวข้อง มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               5    ชุดวิชา    (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         8    ชุดวิชา    (48  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      8    ชุดวิชา    (48  หน่วยกิต)         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    3    ชุดวิชา    (18  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  24  ชุดวิชา  หรือ  144  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   5  ชุดวิชา

บังคับ 4 ชุดวิชา

10103 ทักษะชีวิต

10131 สังคมมนุษย์

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

.   หมวดวิชาแกน   8   ชุดวิชา

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย

40103 กฎหมายเกษตร

90201 การจัดการฟาร์ม

90202 การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

90303 พืชเศรษฐกิจ

90305 การผลิตสัตว์

90406 ดิน น้ำ  และปุ๋ย

90407 การพัฒนาชนบท

.   หมวดวิชาเฉพาะ   8   ชุดวิชา

60370 เศรษฐศาสตร์เกษตรและสหกรณ์

91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์

92217 ธนกิจและบัญชีสหกรณ์เพื่อการจัดการ

92219 สหกรณ์การขาย การซื้อ และการบริการ

92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์

92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป

      92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

.   หมวดวิชาเลือกเสรี   3  ชุดวิชา* ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

หมายเหตุ *  แนะนำให้นักศึกษาเลือกชุดวิชาสหกรณ์เปรียบเทียบและชุดวิชาอื่นๆ อีก 2 ชุดวิชา

 

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าทางการเกษตร มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต) 

.  หมวดวิชาแกน                         2   ชุดวิชา    (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                       8   ชุดวิชา    (48  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาแกน  2  ชุดวิชา

90201 การจัดการฟาร์ม

90407 การพัฒนาชนบท

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  8  ชุดวิชา

      91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร

91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร

91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร

91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์  และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร

91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร

91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา*  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

หมายเหตุ  *  แนะนำให้นักศึกษาเลือกชุดวิชากฎหมายเกษตรหรือชุดวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการเกษตร

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าทางด้านอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ทางการเกษตร  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป              1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต) 

.  หมวดวิชาแกน                        5   ชุดวิชา    (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      8   ชุดวิชา    (48  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  15  ชุดวิชา  หรือ  90  หน่วยกิต

(2)   รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาแกน  5  ชุดวิชา

90201 การจัดการฟาร์ม

90303 พืชเศรษฐกิจ

90305 การผลิตสัตว์

90406 ดิน น้ำ และปุ๋ย

90407 การพัฒนาชนบท

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  8  ชุดวิชา

91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร

91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร

91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร

91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์ และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร

91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร

91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา*    ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

หมายเหตุ  *  แนะนำให้นักศึกษาเลือกชุดวิชากฎหมายเกษตรหรือชุดวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการเกษตร

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร  วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม  

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ อนุปริญญาทางวนศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์  หรือ ปวส.  หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าทางด้านเกษตรกรรม ปริญญาตรีทางวนศาสตร์หรือทางเกษตรศาสตร์หรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรีสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                       10   ชุดวิชา   (60  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         8   ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก         2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาแกน  1  ชุดวิชา

      90407 การพัฒนาชนบท

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

      บังคับ  8  ชุดวิชา

91324 หลักการส่งเสริมการป่าไม้เพื่อสิ่งแวดล้อม

91325 นิเวศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

91357 พื้นฐานความรู้สิ่งแวดล้อม

91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร

91427 การป่าไม้ชุมชน

91428 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

91458 การจัดการสิ่งแวดล้อมป่าไม้

91459 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร

91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร

91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร

91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์ และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร

  

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร  วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม  

สำเร็จการศึกษา  ปวส.  หรือ ปวท.  หรืออนุปริญญา  หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ทางการเกษตร มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           4   ชุดวิชา   (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10    ชุดวิชา   (60  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         8   ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก         2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  15  ชุดวิชา  หรือ  90  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาแกน   4   ชุดวิชา

90303 พืชเศรษฐกิจ

90305 การผลิตสัตว์

90406 ดิน น้ำ และปุ๋ย

90407 การพัฒนาชนบท

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา 

91324 หลักการส่งเสริมการป่าไม้เพื่อสิ่งแวดล้อม

91325 นิเวศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

91357 พื้นฐานความรู้สิ่งแวดล้อม

91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร

91427 การป่าไม้ชุมชน

91428 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

91458 การจัดการสิ่งแวดล้อมป่าไม้

91459 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร

91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

และเลือกอีก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร

91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร

      91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์ และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาสหกรณ์ วิชาเอกสหกรณ์  

สำเร็จการศึกษา  ปวส.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาเกษตรกรรม พาณิชยกรรม  และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               2   ชุดวิชา    (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         4   ชุดวิชา   (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      5   ชุดวิชา   (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  2  ชุดวิชา

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต*

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาแกน  4  ชุดวิชา

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย

40103 กฎหมายเกษตร

90201 การจัดการฟาร์ม

90407 การพัฒนาชนบท

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  5  ชุดวิชา

      91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์

92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์

92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป

92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา**    ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

หมายเหตุ   *  ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์หรือด้านเกษตรศาสตร์  ให้เรียนชุดวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและ

                   สหกรณ์แทนชุดวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

              **  แนะนำให้นักศึกษาเลือกชุดวิชาสหกรณ์เปรียบเทียบ

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านการเกษตรหรือ ปวส.  หรือ ปวท.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    10   ชุดวิชา    (60  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น                                                              

1)  ชุดวิชาบังคับ         8   ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก         2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  หน่วยกิต  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

      บังคับ  8  ชุดวิชา

90201 การจัดการฟาร์ม

93335 วิทยาศาสตร์การผลิตพืช

93337 การปรับปรุงพันธุ์พืชและการขยายพันธุ์พืช

93352 หลักการจัดการการผลิต

93353 การจัดการผลผลิตพืช

93442 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการผลิตพืช

93454 สารสนเทศเพื่อการจัดการการผลิตพืช

93455 การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช*

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

93456 การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

93457 การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

93458 การจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ

93459 การจัดการการผลิตไม้ผลและผักเชิงธุรกิจ

 .  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา    ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

หมายเหตุ  *  เป็นชุดวิชาที่มีการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือ ปวส. หรือ ปวท.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ทางการเกษตร     มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      13   ชุดวิชา    (78  หน่วยกิต)

      โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         11   ชุดวิชา  (66  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก           2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  15  หน่วยกิต  หรือ  90  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  13  ชุดวิชา

      บังคับ  11  ชุดวิชา

90201 การจัดการฟาร์ม

90406 ดิน  น้ำ  และปุ๋ย

93256 การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะการผลิตพืช*

93257 ศัตรูพืชเบื้องต้น

93335 วิทยาศาสตร์การผลิตพืช

93337 การปรับปรุงพันธุ์พืชและการขยายพันธุ์พืช

93352 หลักการจัดการการผลิตพืช

93353 การจัดการผลผลิตพืช

93442 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการผลิตพืช

93454 สารสนเทศเพื่อการจัดการการผลิตพืช

93455 การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช*

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

93456 การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

93457 การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

93458 การจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ

93459 การจัดการการผลิตไม้ผลและผักเชิงธุรกิจ

.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา    ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

หมายเหตุ  *  เป็นชุดวิชาที่มีการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์  

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านการเกษตร หรือ ปวส. หรือ ปวท.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10   ชุดวิชา     (60  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ           8   ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก           2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

      บังคับ 8 ชุดวิชา

90201 การจัดการฟาร์ม

93343 หลักโภชนศาสตร์และอาหารสัตว์

93344 วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์

      93345 การปรับปรุงพันธุ์และการสืบพันธุ์สัตว์

93434 ระบบสารสนเทศและการวิจัยทางการเกษตร

93446 การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก*

93447 การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง*

93448 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการผลิตสัตว์

และเลือก  2  ชุดวิชาจากกลุ่มชุดวิชาใดกลุ่มชุดวิชาหนึ่งเพียงกลุ่มเดียว

กลุ่มชุดวิชาส่งเสริมการเกษตร

91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

90202 การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

90407 การพัฒนาชนบท

91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร

91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร

91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร

91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์ และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร

91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร

91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

กลุ่มชุดวิชาสหกรณ์

92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

92217 ธนกิจและบัญชีสหกรณ์เพื่อการจัดการ

92219 สหกรณ์การขาย การซื้อ และการบริการ

92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์

92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป

92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

กลุ่มชุดวิชาธุรกิจการเกษตร

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

94330 การจัดการผลิตผลและการแปรรูปผลิตผลเกษตร

94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

กลุ่มชุดวิชาการศึกษา

91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

20202 วิทยาการการสอน

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

21321 พฤติกรรมการสอนประถมศึกษา

22301 พฤติกรรมการสอนมัธยมศึกษา

24401 จิตวิทยาและสังคมวิทยาพื้นฐานเพื่อการวัดและประเมินผลการศึกษา

25303 การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต

ค.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

หมายเหตุ  *  เป็นชุดวิชาที่มีการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ

 


 

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (2 ปี_ต่อ)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์  

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านการเกษตร หรือ ปวส. หรือ ปวท.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10   ชุดวิชา     (60  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ           8   ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก           2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

      บังคับ 8 ชุดวิชา

90201 การจัดการฟาร์ม

93343 หลักโภชนศาสตร์และอาหารสัตว์

93344 วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์

      93345 การปรับปรุงพันธุ์และการสืบพันธุ์สัตว์

93434 ระบบสารสนเทศและการวิจัยทางการเกษตร

93446 การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก*

93447 การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง*

93448 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการผลิตสัตว์

และเลือก  2  ชุดวิชาจากกลุ่มชุดวิชาใดกลุ่มชุดวิชาหนึ่งเพียงกลุ่มเดียว

กลุ่มชุดวิชาส่งเสริมการเกษตร

91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

90202 การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

90407 การพัฒนาชนบท

91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร

91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร

91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร

91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์ และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร

91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร

91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

กลุ่มชุดวิชาสหกรณ์

92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

92217 ธนกิจและบัญชีสหกรณ์เพื่อการจัดการ

92219 สหกรณ์การขาย การซื้อ และการบริการ

92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์

92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป

92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

กลุ่มชุดวิชาธุรกิจการเกษตร

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

94330 การจัดการผลิตผลและการแปรรูปผลิตผลเกษตร

94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

กลุ่มชุดวิชาการศึกษา

91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

20202 วิทยาการการสอน

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

21321 พฤติกรรมการสอนประถมศึกษา

22301 พฤติกรรมการสอนมัธยมศึกษา

24401 จิตวิทยาและสังคมวิทยาพื้นฐานเพื่อการวัดและประเมินผลการศึกษา

25303 การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต

ค.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

หมายเหตุ  *  เป็นชุดวิชาที่มีการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์  

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี  หรือ  ปวส. หรือ  ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ทางการเกษตร   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      13   ชุดวิชา     (78  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         11   ชุดวิชา  (66  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก            2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  15  ชุดวิชา  หรือ  90  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  13  ชุดวิชา

      บังคับ  11  ชุดวิชา

90201 การจัดการฟาร์ม

90303 พืชเศรษฐกิจ

90305 การผลิตสัตว์

90406 ดิน น้ำ และปุ๋ย

93343 หลักโภชนาศาสตร์และอาหารสัตว์

93344 วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์

93345 การปรับปรุงพันธุ์และการสืบพันธุ์สัตว์

93434 ระบบสารสนเทศและการวิจัยทางการเกษตร

93446 การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

93447 การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

93448 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการผลิตสัตว์

และเลือก  2  ชุดวิชาจากกลุ่มชุดวิชาใดกลุ่มชุดวิชาหนึ่งเพียงกลุ่มเดียว

กลุ่มชุดวิชาส่งเสริมการเกษตร

91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

90202 การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์

90407 การพัฒนาชนบท

91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร

91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร

91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร

91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์ และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร

91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร

91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

กลุ่มชุดวิชาสหกรณ์

92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์

เลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

92217 ธนกิจและบัญชีสหกรณ์เพื่อการจัดการ

92219 สหกรณ์การขาย การซื้อ และการบริการ

92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์

92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป

92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

กลุ่มชุดวิชาธุรกิจการเกษตร

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

94330 การจัดการผลิตผลและการแปรรูปผลิตผลเกษตร

94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

กลุ่มชุดวิชาการศึกษา

91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

20202 วิทยาการการสอน

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

21321 พฤติกรรมการสอนประถมศึกษา

22301 พฤติกรรมการสอนมัธยมศึกษา

24401 จิตวิทยาและสังคมวิทยาพื้นฐานเพื่อการวัดและประเมินผลการศึกษา

25303 การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต

ค.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร วิชาเอกธุรกิจการเกษตร

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรือ ปวท.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม  หรือปริญญาตรีทางด้านการเกษตร   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1    ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10    ชุดวิชา     (60  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1    ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

      30202 หลักการบัญชี

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

90201 การจัดการฟาร์ม

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

94360 การจัดการการปฏิบัติการและทรัพยามนุษย์ในธุรกิจการเกษตร

94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

94432 สารสนเทศและการวิจัยทางธุรกิจการเกษตร

94433 ประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจการเกษตร

94461 การเงินธุรกิจการเกษตร

94462 ธุรกิจการเกษตรระหว่างประเทศ

ค.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์ การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร วิชาเอกธุรกิจการเกษตร  

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาบัญชี  การเงินและการธนาคาร หรือ ปริญญาตรีทางด้านบริหารธุรกิจ หรือพาณิชยศาสตร์ มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10   ชุดวิชา     (60   หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

      60370 เศรษฐศาสตร์เกษตรและสหกรณ์

90201 การจัดการฟาร์ม

90303 พืชเศรษฐกิจ

90305 การผลิตสัตว์

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

94360 การจัดการการปฏิบัติการและทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจการเกษตร

94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

94432 สารสนเทศและการวิจัยทางธุรกิจการเกษตร

94433 ประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจการเกษตร

94462 ธุรกิจการเกษตรระหว่างประเทศ

.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา   ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร วิชาเอกธุรกิจการเกษตร  

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ทางด้านการเกษตร  บัญชี  การเงินและการธนาคาร หรือปริญญาตรีที่ไม่ใช่ทางด้านการเกษตร  บริหารธุรกิจ หรือพาณิชยศาสตร์  มีโครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      13   ชุดวิชา     (78   หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา       (6   หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  13  ชุดวิชา

      30202 หลักการบัญชี

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษาอากร

60370 เศรษฐศาสตร์เกษตรและสหกรณ์

90201 การจัดการฟาร์ม

90303 พืชเศรษฐกิจ

90305 การผลิตสัตว์

94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

94360 การจัดการการปฏิบัติการและทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจการเกษตร

94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

94432 สารสนเทศและการวิจัยทางธุรกิจการเกษตร

94433 ประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจการเกษตร

94461 การเงินธุรกิจการเกษตร

94462 ธุรกิจการเกษตรระหว่างประเทศ

.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา   ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

คำอธิบายชุดวิชา
  • รายละเอียดชุดวิชาที่นักศึกษาสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์จะต้องศึกษา  ดูเพิ่มเติมที่นี่
เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

                        การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี  นักศึกษาสามารถเลือกศึกษาได้จากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย  ยกเว้นชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

ก.      ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

ข.      ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่นๆ ในหลักสูตรที่เรียน

ค.      ชุดวิชาที่มีการกำหนดคุณสมบัติและทักษะพื้นฐานไว้โดยเฉพาะ

ชุดวิชาต่าง ๆ ที่สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ไม่อนุญาตให้เลือกเป็นชุดวิชาเลือกเสรีตามลักษณะดังกล่าวข้างต้นมีรายชื่อดังนี้

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

19.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

20.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

21.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

22.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

23.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย  และเออร์กอนอมิคส์

24.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

25.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

26.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

27.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

28.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

29.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

30.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

31.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

32.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

33.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

34.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

35.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

36.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

37.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

38.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

39.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

40.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์ไร้แรงกด

41.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเกินโครงสร้างหลักสูตร

 

               นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนชุดวิชาหรือรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเกินโครงสร้างหลักสูตรได้ยกเว้น ชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

                1.  ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

                2.  ชุดวิชา หรือรายวิชาที่มีเนื้อหาและภาคปฏิบัติในการอบรมเข้ม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการไว้เฉพาะสำหรับหลักสูตรนั้นๆ

                3.  ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่น ๆ ในหลักสูตรที่เรียน            

    ชุดวิชาต่างๆ ที่สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ไม่อนุญาตให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเกินโครงสร้างหลักสูตรตามลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีรายชื่อดังนี้

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344 การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน 

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก  

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา  

18.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์ 

19.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

20.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย 

21.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม    

22.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

23.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร   

24.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์ 

25.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม  

26.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ       

27.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

28.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก   

29.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

30.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

31.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ         

32.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล    

33.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์     

34.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ       

35.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์ไร้แรงกด

36.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

 
 
footer

ควรใช้ความละเอียดหน้าจอที่ 1024 by 768 pixels และ Internet Explorer version 5.5 + ขึ้นไป
จัดทำข้อมูลหลักสูตรโดยสำนักวิชาการ จัดทำระบบโดย คณะทำงานเผยแพร่สารสนเทศในระบบอินเตอร์เน็ต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Copyright © STOU Sukhothai Thammathirat OpenUniversity. All rights reserved.