กลับหน้าแรก มสธ.
| STOU | Home |
Administrator
หน้าหลักโครงสร้างหลักสูตร
ประจำปีการศึกษา 2549

| กระดานถาม-ตอบหลักสูตรคำถามถามบ่อย FAQs | ติดต่อสอบถาม |

โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ (ชื่อใหม่ มนุษยนิเวศศาสตร์)
โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ (ชื่อใหม่ มนุษยนิเวศศาสตร์)

คหกรรมศาสตร์

          - ระดับปริญญาตรี (4 ปี)
          - ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

ระดับหลักสูตร

 

          - วิชาเอกโภชนาการชุมชน 

          - วิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว

  • ปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี) 

    - วิชาเอกโภชนาการชุมชน 

    - วิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว

    - แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ  วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร 

    - แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ  วิชาเอกธุรกิจอาหาร

ชื่อหลักสูตรและชื่อปริญญา

 

1.       หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต  วิชาเอกโภชนาการชุมชน

Bachelor  of  Home  Economics  Program  in  Community  Nutrition

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

คหกรรมศาสตรบัณฑิต

อักษรย่อ                     

คศ..

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Home  Economics

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.H.Econ.

2.       หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต  วิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว

Bachelor  of  Home  Economics  Program  in  Child  and  Family  Development

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

คหกรรมศาสตรบัณฑิต

อักษรย่อ                     

คศ..

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Home  Economics

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.H.Econ.

3.       หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ  วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร

Bachelor  of  Home  Economics  Program  in  Hotel  and  Restaurant  Studies

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

คหกรรมศาสตรบัณฑิต  (การโรงแรมและภัตตาคาร)

อักษรย่อ                     

คศ..  (การโรงแรมและภัตตาคาร)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor of  Home Economics  (Hotel and  Restaurant  Studies)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.H.Econ.  (Hotel  and  Restaurant  Studies)

4.       หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ  วิชาเอกธุรกิจอาหาร

Bachelor  of  Home  Economics  Program  in  Food  Business

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

คหกรรมศาสตรบัณฑิต  (ธุรกิจอาหาร)

อักษรย่อ                     

คศ..  (ธุรกิจอาหาร)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Home  Economics   (Food  Business)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.H.Econ. (Food  Business)

คุณสมบัติของผู้สมัคร

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)                                  

วิชาเอกโภชนาการชุมชน   และวิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว                 

1.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองและประกอบอาชีพ*มาแล้วไม่น้อยกว่า  5  ปี หลังสำเร็จการศึกษา  นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ         

3.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา  หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง  และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)  ทุกสาขาวิชา หรือ        

6.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)  ทุกประเภทวิชา ยกเว้นประเภทวิชาคหกรรม หรือ                    

7.        สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า  

 

*  การประกอบอาชีพในที่นี้หมายความรวมถึง การทำหน้าที่เป็นแม่บ้าน  หรือทำงานอยู่กับบ้านด้วย

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)                          

วิชาเอกโภชนาการชุมชน   และวิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว                 

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (.กศ.สูง)  วิชาเอกคหกรรมศาสตร์ หรือวิชาโทคหกรรมศาสตร์ หรือ        

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)  สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ทุกวิชาเอก หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรประโยคครูมัธยมการเรือน หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาอื่น ๆ ที่มีพื้นความรู้ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (.กศ.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) คหกรรมศาสตร์  หรือมีพื้นความรู้ประกาศนียบัตรฝึกหัดครูการเรือน หรือ         

5.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาพยาบาลอนามัยและผดุงครรภ์ จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน  (..) รับรอง หรือ                           

6.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางคหกรรมศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า

 

หมายเหตุ   1.  ผู้สมัครที่มีคุณสมบัติตามข้อ 1-2  ต้องมีพื้นความรู้ทางคหกรรมศาสตร์  ดังนั้น ผู้สมัครจะต้อง

                     แสดงหลักฐานวุฒิการศึกษาที่ระบุวิชาเอก หรือวิชาโทคหกรรมศาสตร์ในการสมัครด้วย

                2.  ผู้สมัครที่มีคุณสมบัติตามข้อ 5  ต้องแสดงหลักฐานวุฒิการศึกษาทั้ง  2  ฉบับ ดังนี้

ก.  วุฒิการศึกษาระดับอนุปริญญา  2  ฉบับ

                      ข.  วุฒิการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (.กศ.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) คหกรรม

                          ศาสตร์  หรือประกาศนียบัตรฝึกหัดครูการเรือน  2  ฉบับ

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)                          

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร

1.  สำเร็จการศึกษา ปวส. ในสาขาวิชาการโรงแรม  การท่องเที่ยว และบริหารธุรกิจ หรือ

2.  สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (.กศ.สูง) วิชาเอกหรือวิชาโทคหกรรมศาสตร์ หรือ

      ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าในวิชาเอก หรือ

      วิชาโทคหกรรมศาสตร์ หรือ

3.  สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาวิชาธุรกิจบริการ  หรือสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือ

     สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาเอกบริหารธุรกิจ  หรือ

4.   สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยวนานา  (ไอทิม)        

   

หมายเหตุ  ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (.กศ.สูง) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ

              ชั้นสูง(ปวส.)  หรืออนุปริญญา  หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นที่มิได้กำหนด

              คุณสมบัติตามข้อ 1-3 โดยสำเร็จจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ หรือสำนักงาน ก..รับรอง

              มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้เข้าศึกษา โดยกำหนดให้ศึกษาชุดวิชาเพิ่มเติมจากหลักสูตรระดับปริญญา

              ตรี (ต่อเนื่อง 2 ปี)      

      

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)                          

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ  วิชาเอกธุรกิจอาหาร       

1.  สำเร็จการศึกษา ปวส. หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าทางคหกรรมศาสตร์ หรือ

     เทคโนโลยีอาหาร  หรือ

2.  สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (.กศ.สูง) วิชาเอกคหกรรมศาสตร์ หรือวิชาโทคหกรรม

     ศาสตร์ หรือ   

3.  สำเร็จการศึกษา ปวส. หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าทางเกษตรกรรม หรือบริหารธุรกิจ 

     โดยมีประสบการณ์ในการทำงานด้านธุรกิจอาหาร หลังจากสำเร็จการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี  นับถึงวันเปิด

     ภาคการศึกษา     

          

หมายเหตุ  ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (.กศ.สูง) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ

              ชั้นสูง  (ปวส.)  หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นที่มิได้กำหนด

              คุณสมบัติตามข้อ 1-3 โดยสำเร็จจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ หรือสำนักงาน ก..รับรอง    

              มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้เข้าศึกษา โดยกำหนดให้ศึกษาชุดวิชาเพิ่มเติมจากหลักสูตรระดับปริญญา

              ตรี (ต่อเนื่อง 2 ปี)      

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกโภชนาการชุมชน_4 ปี)

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

วิชาเอกโภชนาการชุมชน

สำเร็จการศึกษา ม.3 หรือเทียบเท่า  หรือ ม.6  หรือเทียบเท่า  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               5  ชุดวิชา     (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก          1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1  ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  24  ชุดวิชา  หรือ  144  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   5  ชุดวิชา

บังคับ  3  ชุดวิชา                                  

10103 ทักษะชีวิต                                 

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต                                             

10151 ไทยศึกษา

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้     

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10152 ไทยกับสังคมโลก

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร              

ข.      หมวดวิชาแกน  9  ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70201 คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาชุมชน

70202 คหกรรมศาสตร์ทั่วไป                   

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70204 การจัดการทัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                         

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

70302 สถิติและการวิจัยทางคหกรรมศาสตร์        

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  9  ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

70311 ชีวเคมีพื้นฐาน                            

70312 อาหารและโภชนาการ                  

70313 อาหารบำบัดโรค                         

70314 การผลิตและการใช้อาหาร            

70411 อนามัยชุมชน                            

70412 โภชนาการศึกษาเพื่อชุมชน           

70413 การจัดบริการอาหารในโรงเรียนและสถาบัน                                                     

70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์                                                              

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้    

70433 การพัฒนาที่อยู่อาศัย                   

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์     

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

วิชาเอกโภชนาการชุมชน

สำเร็จการศึกษา ปวท. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ หรือ ปวส. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และศิลปศาสตร์ (ภาษาต่างประเทศ)  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3  ชุดวิชา     (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ        8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก          1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1  ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  22  ชุดวิชา  หรือ  132  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3  ชุดวิชา

10103 ทักษะชีวิต      

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต                                             

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาแกน  9  ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70201 คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาชุมชน

70202 คหกรรมศาสตร์ทั่วไป                   

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70204 การจัดการทัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                         

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

70302 สถิติและการวิจัยทางคหกรรมศาสตร์                                                              

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  9  ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

70311 ชีวเคมีพื้นฐาน                            

70312 อาหารและโภชนาการ                  

70313 อาหารบำบัดโรค                         

70314 การผลิตและการใช้อาหาร            

70411 อนามัยชุมชน                            

70412 โภชนาการศึกษาเพื่อชุมชน           

70413 การจัดบริการอาหารในโรงเรียนและสถาบัน                                                     

70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์                                                              

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้    

70433 การพัฒนาที่อยู่อาศัย                   

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์     

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

วิชาเอกโภชนาการชุมชน

สำเร็จการศึกษา ปวท. ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม เกษตรกรรม คหกรรม และศิลปหัตถกรรม หรือปวส. ประเภทวิชาเกษตรกรรม ช่าง (ช่างโยธา  ช่างไฟฟ้า ช่างกล ช่างอุตสาหกรรม ช่างพิมพ์ และช่างภาพ) เคมีอุตสาหกรรม และศิลปหัตถกรรม   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3  ชุดวิชา     (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ        8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก          1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1  ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  22  ชุดวิชา  หรือ  132  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3  ชุดวิชา

10103 ทักษะชีวิต                                 

10131 สังคมมนุษย์                              

10151 ไทยศึกษา                                

ข.      หมวดวิชาแกน  9  ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70201 คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาชุมชน

70202 คหกรรมศาสตร์ทั่วไป                   

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70204 การจัดการทัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                         

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

70302 สถิติและการวิจัยทางคหกรรมศาสตร์

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  9  ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

70311 ชีวเคมีพื้นฐาน                            

70312 อาหารและโภชนาการ                  

70313 อาหารบำบัดโรค                         

70314 การผลิตและการใช้อาหาร            

70411 อนามัยชุมชน                            

70412 โภชนาการศึกษาเพื่อชุมชน           

70413 การจัดบริการอาหารในโรงเรียนและสถาบัน                                                     

70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์                                                              

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้    

70433 การพัฒนาที่อยู่อาศัย                   

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์     

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

วิชาเอกโภชนาการชุมชน

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือเทียบเท่า  หรือสูงกว่า  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1  ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก          1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1  ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  20  ชุดวิชา  หรือ  120  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาแกน  9  ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70201 คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาชุมชน

70202 คหกรรมศาสตร์ทั่วไป                   

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70204 การจัดการทัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                         

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

70302 สถิติและการวิจัยทางคหกรรมศาสตร์                                                              

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  9  ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

70311 ชีวเคมีพื้นฐาน                            

70312 อาหารและโภชนาการ                  

70313 อาหารบำบัดโรค                         

70314 การผลิตและการใช้อาหาร            

70411 อนามัยชุมชน                            

70412 โภชนาการศึกษาเพื่อชุมชน           

70413 การจัดบริการอาหารในโรงเรียนและสถาบัน                                                     

70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์                                                              

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้    

70433 การพัฒนาที่อยู่อาศัย                   

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์     

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการพัฒนาการเด็ก_4 ปี)

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

วิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว 

สำเร็จการศึกษา ม.3 หรือเทียบเท่า หรือ ม.6 หรือเทียบเท่า มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               5  ชุดวิชา     (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก          1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   24  ชุดวิชา  หรือ  144  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   5   ชุดวิชา            

บังคับ  3  ชุดวิชา                                                                                                  

10103 ทักษะชีวิต

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต                                              

10151 ไทยศึกษา

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10131 สังคมมนุษย์

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร               

.   หมวดวิชาแกน   9   ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70201 คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาชุมชน

70202 คหกรรมศาสตร์ทั่วไป                   

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70204 การจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                        

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

70302 สถิติและการวิจัยทางคหกรรมศาสตร์                                                              

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

70321 ครอบครัวและสิ่งแวดล้อม             

70322 พัฒนาการวัยรุ่นและการอบรม        

70323 สุขภาพเด็ก                                

70324 อนามัยครอบครัว                        

70421 กิจกรรมและประสบการณ์เยาวชน   

70422 ปัญหาเด็กและเยาวชนกับการส่งเสริมอาชีพ                                                     

70423 การจัดการสถานเลี้ยงเด็กในชุมชน  

70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์                                                               

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้     

70433 การพัฒนาที่อยู่อาศัย                   

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์      

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

วิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว 

สำเร็จการศึกษา ปวท. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ หรือ ปวส. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และศิลปศาสตร์ (ภาษาต่างประเทศ)   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3  ชุดวิชา     (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

    โดยแบ่งเป็น

    1)  ชุดวิชาบังคับ         8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

    2)  ชุดวิชาเลือก           1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   22  ชุดวิชา  หรือ  132  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3   ชุดวิชา                                                                          

10103 ทักษะชีวิต

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต    

10151 ไทยศึกษา

.  หมวดวิชาแกน   9   ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70201 คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาชุมชน

70202 คหกรรมศาสตร์ทั่วไป                   

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70204 การจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                        

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

70302 สถิติและการวิจัยทางคหกรรมศาสตร์                                                              

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

70321 ครอบครัวและสิ่งแวดล้อม             

70322 พัฒนาการวัยรุ่นและการอบรม        

70323 สุขภาพเด็ก                                

70324 อนามัยครอบครัว                        

70421 กิจกรรมและประสบการณ์เยาวชน   

70422 ปัญหาเด็กและเยาวชนกับการส่งเสริมอาชีพ                                                     

70423 การจัดการสถานเลี้ยงเด็กในชุมชน  

70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์                                                               

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้     

70433 การพัฒนาที่อยู่อาศัย                   

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์      

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

วิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว 

สำเร็จการศึกษา ปวท. ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม เกษตรกรรม คหกรรม และศิลปหัตถกรรม หรือปวส. ประเภทวิชาเกษตรกรรม ช่าง (ช่างโยธา  ช่างไฟฟ้า ช่างกล ช่างอุตสาหกรรม ช่างพิมพ์ และช่างภาพ) เคมีอุตสาหกรรม และศิลปหัตถกรรม   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3  ชุดวิชา     (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

    โดยแบ่งเป็น

    1)  ชุดวิชาบังคับ         8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

    2)  ชุดวิชาเลือก           1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   22  ชุดวิชา  หรือ  132  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3   ชุดวิชา            

10103 ทักษะชีวิต

10131 สังคมมนุษย์   

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   9   ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70201 คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาชุมชน

70202 คหกรรมศาสตร์ทั่วไป                   

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70204 การจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                        

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

70302 สถิติและการวิจัยทางคหกรรมศาสตร์                                                              

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

70321 ครอบครัวและสิ่งแวดล้อม             

70322 พัฒนาการวัยรุ่นและการอบรม        

70323 สุขภาพเด็ก                                

70324 อนามัยครอบครัว                        

70421 กิจกรรมและประสบการณ์เยาวชน   

70422 ปัญหาเด็กและเยาวชนกับการส่งเสริมอาชีพ                                                     

70423 การจัดการสถานเลี้ยงเด็กในชุมชน  

70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์                                                               

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้     

70433 การพัฒนาที่อยู่อาศัย                   

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์      

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

วิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว 

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1  ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา     (54  หน่วยกิต)

    โดยแบ่งเป็น

    1)  ชุดวิชาบังคับ         8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

    2)  ชุดวิชาเลือก           1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   20  ชุดวิชา  หรือ  120  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา        

  10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   9   ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70201 คหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาชุมชน

70202 คหกรรมศาสตร์ทั่วไป                   

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70204 การจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                        

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

70302 สถิติและการวิจัยทางคหกรรมศาสตร์                                                              

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

70321 ครอบครัวและสิ่งแวดล้อม             

70322 พัฒนาการวัยรุ่นและการอบรม        

70323 สุขภาพเด็ก                                

70324 อนามัยครอบครัว                        

70421 กิจกรรมและประสบการณ์เยาวชน   

70422 ปัญหาเด็กและเยาวชนกับการส่งเสริมอาชีพ                                                     

70423 การจัดการสถานเลี้ยงเด็กในชุมชน  

70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์                                                               

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้     

70433 การพัฒนาที่อยู่อาศัย                   

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์      

.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

วิชาเอกโภชนาการชุมชน  

สำเร็จการศึกษา ป.กศ.สูง  วิชาเอกหรือวิชาโทคหกรรมศาสตร์ หรือ ปวส. สาขาวิชาคหกรรมศาตร์ทุกวิชาเอก หรือประกาศนียบัตรประโยคครูมัธยมการเรือน หรืออนุปริญญาอื่นๆ  ที่มีพื้นความรู้ ป.กศ. หรือ ปวช. คหกรรมศาสตร์ หรือมีพื้นความรู้ประกาศนียบัตรฝึกหัดครูการเรือน หรืออนุปริญญาพยาบาลอนามัยและผดุงครรภ์ หรือปริญญาตรีทาง      คหกรรมศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               2  ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         4  ชุดวิชา  (24   หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      6  ชุดวิชา  (36  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   2   ชุดวิชา

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   4   ชุดวิชา

70204 การจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                        

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

.   หมวดวิชาเฉพาะ   6   ชุดวิชา

70312 อาหารและโภชนาการ   

70313 อาหารบำบัดโรค          

70314 การผลิตและการใช้อาหาร          

70411 อนามัยชุมชน  

70412 โภชนาการศึกษาเพื่อชุมชน        

     70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)                      

วิชาเอกพัฒนาการเด็กและครอบครัว  

สำเร็จการศึกษา ป.กศ.สูง  วิชาเอกหรือวิชาโทคหกรรมศาสตร์ หรือ ปวส. สาขาวิชาคหกรรมศาตร์ทุกวิชาเอก หรือประกาศนียบัตรประโยคครูมัธยมการเรือน หรืออนุปริญญาอื่นๆ  ที่มีพื้นความรู้ ป.กศ. หรือ ปวช. คหกรรมศาสตร์ หรือมีพื้นความรู้ประกาศนียบัตรฝึกหัดครูการเรือน หรืออนุปริญญาพยาบาลอนามัยและผดุงครรภ์ หรือปริญญาตรีทางคหกรรมศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               2  ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         4  ชุดวิชา  (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      6  ชุดวิชา  (36  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  2  ชุดวิชา

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต                                             

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน  4  ชุดวิชา

70204 การจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน                                                        

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

     70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์

70301 พัฒนาการเด็กและการเลี้ยงดู         

.   หมวดวิชาเฉพาะ  6  ชุดวิชา

70321 ครอบครัวและสิ่งแวดล้อม             

     70322 พัฒนาการวัยรุ่นและการอบรม

70323 สุขภาพเด็ก                                

70422 ปัญหาเด็กและเยาวชนและการส่งเสริมอาชีพ                                                    

70423 การจัดการสถานเลี้ยงเด็กในชุมชน  

     70431 ประสบการณ์วิชาชีพคหกรรมศาสตร์

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)                      

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร 

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาการโรงแรม การท่องเที่ยว บริหารธุรกิจ หรือ ป.กศ.สูง  วิชาเอก หรือวิชาโทคหกรรมศาสตร์ หรืออนุปริญญา  หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง  หรือเทียบเท่าในวิชาเอกหรือวิชาโท คหกรรมศาสตร์  หรือสาขาวิชาธุรกิจบริการ หรือสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาเอกบริหารธุรกิจ   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1  ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         1  ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา   (54  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก          1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1  ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   1   ชุดวิชา

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

11303 ภาษาอังกฤษสำหรับพนักงานโรงแรม                                                             

71111 จิตวิทยาการบริการ                      

71112 อุตสาหกรรมการบริการ                

71113 เทคโนโลยีอาหารและเครื่องดื่ม      

71114 การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม                                                     

71215 การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร                                                   

71216 การวิเคราะห์ระบบการจัดการงานโรงแรมและภัตตาคาร                                       

71219 ประสบการณ์วิชาชีพการโรงแรมและภัตตาคาร

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้     

71217 ระบบสารสนเทศในงานโรงแรมและภัตตาคาร                                                   

71218 การพัฒนาบุคลากรในงานโรงแรมและภัตตาคาร

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)       

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร

สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนการจัดการการโรงแรม และการท่องเที่ยวนานาชาติ (ไอทิม)  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               4  ชุดวิชา  (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         4  ชุดวิชา  (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา  (54  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ        8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก          1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1  ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  18  ชุดวิชา  หรือ  108  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   4   ชุดวิชา

10141 วิทยาศาสตร์   เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา

10152 ไทยกับสังคมโลก

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

.  หมวดวิชาแกน   4   ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์      

.   หมวดวิชาเฉพาะ  9  ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

11303 ภาษาอังกฤษสำหรับพนักงานโรงแรม                                                             

71111 จิตวิทยาการบริการ                      

71112 อุตสาหกรรมบริการ                     

71113 เทคโนโลยีอาหารและเครื่องดื่ม      

71114 การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

71215 การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร                                                   

71216 การวิเคราะห์ระบบการจัดการงานโรงแรมและภัตตาคาร                                       

71219 ประสบการณ์วิชาชีพการโรงแรมและภัตตาคาร                                                  

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้     

71217 ระบบสารสนเทศในงานโรงแรมและภัตตาคาร                                                   

71218 การพัฒนาบุคลากรในงานโรงแรมและภัตตาคาร

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)                      

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร

สำเร็จการศึกษา ปกศ.สูง หรือ ปวส. หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นที่มิได้กำหนดตามคุณสมบัติข้อ 1-3   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         4  ชุดวิชา  (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา  (54  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ        8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก          1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1  ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  15  ชุดวิชา  หรือ  90  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   4   ชุดวิชา

70101 จิตวิทยาทั่วไป                            

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

70434 การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์      

.   หมวดวิชาเฉพาะ  9  ชุดวิชา

11303 ภาษาอังกฤษสำหรับพนักงานโรงแรม                                                             

71111 จิตวิทยาการบริการ                      

71112 อุตสาหกรรมบริการ                     

71113 เทคโนโลยีอาหารและเครื่องดื่ม      

71114 การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

71215 การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร                                                   

71216 การวิเคราะห์ระบบการจัดการงานโรงแรมและภัตตาคาร                                       

71219 ประสบการณ์วิชาชีพการโรงแรมและภัตตาคาร                                                  

และเลือก  1   ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้    

71217 ระบบสารสนเทศในงานโรงแรมและภัตตาคาร                                                   

71218 การพัฒนาบุคลากรในงานโรงแรมและภัตตาคาร

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

            สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  มีข้อกำหนดว่านักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรนี้จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะหลังจากผ่านการลงทะเบียนเรียนชุดวิชาการจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม  และชุดวิชาการจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร  จำนวนรวมทั้งสิ้น  400  ชั่วโมง  ซึ่งประกอบด้วยการฝึกเสริมทักษะ    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไม่น้อยกว่า 50 ชั่วโมง และการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ ณ สถานประกอบการไม่น้อยกว่า 350 ชั่วโมง  กรณีนักศึกษาที่มีประการณ์เคยผ่านงานโรงแรมและภัตตาคารมาแล้ว  อาจจะได้รับการยกเว้นการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะฯ    สถานประกอบการ  ซึ่งสาขาวิชาจะพิจารณาเป็นกรณีไปและนักศึกษาจะสำเร็จการศึกษาได้ต่อเมื่อสอบผ่านครบทุกวิชาตามหลักสูตร  และผ่านการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะแล้วเท่านั้น

  

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)                      

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ วิชาเอกธุรกิจอาหาร 

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรืออนุปริญญา  หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าทางคหกรรมศาสตร์ หรือเทคโนโลยีอาหาร หรือ ป.กศ.สูง วิชาเอกหรือวิชาโทคหกรรมศาสตร์  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9  ชุดวิชา  (54  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

      1)  ชุดวิชาบังคับ         8  ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

      2)  ชุดวิชาเลือก         1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1  ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา                                

.   หมวดวิชาแกน  1  ชุดวิชา

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

.   หมวดวิชาเฉพาะ  9  ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

71330 เศรษฐศาสตร์สำหรับธุรกิจอาหาร

71331 การจัดการธุรกิจอาหาร  

71332 เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร    

71333 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการธุรกิจอาหาร            

71430 ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจอาหาร  

71432 การถนอมและการแปรรูปอาหาร  

71434 การประกันคุณภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร  

71436 ประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจอาหาร

     และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

     71431 การจัดการธุรกิจอาหารเพื่อการส่งออก                                                            

     71433 ผลิตภัณฑ์อาหาร                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)                   

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ  วิชาเอกธุรกิจอาหาร                                                         

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าทางเกษตรกรรม   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้                                              

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1  ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         1  ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    10  ชุดวิชา     (60  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          9  ชุดวิชา  (54  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก          1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1  ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  13  ชุดวิชา  หรือ  78  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน  1  ชุดวิชา

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

.   หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

บังคับ  9  ชุดวิชา

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

71330 เศรษฐศาสตร์สำหรับธุรกิจอาหาร    

71331 การจัดการธุรกิจอาหาร                 

71332 เคมีและจุลชีวิทยาของอาหาร         

71333 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการธุรกิจอาหาร                                                     

71430 ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจอาหาร     

71432 การถนอมและการแปรรูปอาหาร     

71434 การประกันคุณภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร                                           

71436 ประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจอาหาร     

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้     

71431 การจัดการธุรกิจอาหารเพื่อการส่งออก                                                            

71433 ผลิตภัณฑ์อาหาร                        

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)                      

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ วิชาเอกธุรกิจอาหาร

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าทางบริหารธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้                                                

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                  11  ชุดวิชา   (66  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          10  ชุดวิชา  (60  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก            1  ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1  ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  14  ชุดวิชา  หรือ  84  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน  1  ชุดวิชา

70203 หลักกฎหมายและเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                                                         

.   หมวดวิชาเฉพาะ  11  ชุดวิชา

บังคับ  10  ชุดวิชา

70205 วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์          

70206 โภชนาการกับชีวิตมนุษย์              

71230 วิทยาศาสตร์การอาหารเบื้องต้น      

71331 การจัดการธุรกิจอาหาร                 

71332 เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร       

71333 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการธุรกิจอาหาร                                                     

71430 ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจอาหาร     

71432 การถนอมและการแปรรูปอาหาร     

71434 การประกันคุณภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร                                           

71436 ประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจอาหาร     

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้     

71431 การจัดการธุรกิจอาหารเพื่อการส่งออก      

71433 ผลิตภัณฑ์อาหาร                        

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

คำอธิบายชุดวิชา
เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

                        การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี  นักศึกษาสามารถเลือกศึกษาได้จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย  ยกเว้นชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

ก.      ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

ข.      ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่น ๆ ในหลักสูตรที่เรียน

ค.      ชุดวิชาที่มีการกำหนดคุณสมบัติและทักษะพื้นฐานไว้โดยเฉพาะ

ชุดวิชาต่าง ๆ ที่สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ไม่อนุญาตให้เลือกเป็นชุดวิชาเลือกเสรีตามลักษณะดังกล่าวข้างต้นมีรายชื่อดังนี้

 

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

วิชาเอกโภชนาการชุมชน                             4  ปี  และ  2  ปี

วิชาเอกพัฒนาการเด็ก

และครอบครัว

            4  ปี  และ  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

19.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

20.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

21.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

22.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

23.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย

                            และเออร์กอนอมิคส์

24.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรม

                            แผนไทย

25.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

26.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

27.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

28.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

29.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

30.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

31.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

32.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

33.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

34.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

35.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

36.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

37.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

38.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

39.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

40.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้า

                            และการพิมพ์ไร้แรงกด

41.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

            แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ   วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร   2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

19.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

20.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

21.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

22.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

23.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย 

                            และเออร์กอนอมิคส์

24.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

25.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

26.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

27.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

28.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

29.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

30.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

31.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

32.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

33.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

34.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

35.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

36.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

37.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

38.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้า

                            และการพิมพ์ไร้แรงกด

39.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ

วิชาเอกธุรกิจอาหาร       

  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

19.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

20.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

21.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

22.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

23.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย 

                            และเออร์กอนอมิคส์

24.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

25.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

26.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

27.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

28.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

29.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

30.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

31.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

32.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

33.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

34.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

35.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

36.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

37.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

38.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

39.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้า

                            และการพิมพ์ไร้แรงกด

40.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเกินโครงสร้างหลักสูตร

 

               นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนชุดวิชาหรือรายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเกินโครงสร้างหลักสูตรได้ยกเว้น ชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

                1.  ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

                2.  ชุดวิชา หรือรายวิชาที่มีเนื้อหาและภาคปฏิบัติในการอบรมเข้ม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการไว้เฉพาะสำหรับหลักสูตรนั้นๆ

                3.  ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่นๆ ในหลักสูตรที่เรียน            

ชุดวิชาต่างๆ ที่สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ไม่อนุญาตให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเกินโครงสร้างหลักสูตรตามลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีรายชื่อดังนี้

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน 

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก  

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา  

18.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์ 

19.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

20.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย 

21.    ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม    

22.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

23.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร   

24.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์ 

25.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม  

26.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ        

27.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

28.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก   

29.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

30.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

31.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ         

32.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล    

33.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์     

34.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ       

35.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์ไร้แรงกด

36.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

 

การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะหลักสูตรการโรงแรมและภัตตาคาร

ประกาศมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

เรื่อง  แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะของนักศึกษา

หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง 2 ปี )  แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ

วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร

            เพื่อให้การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะของนักศึกษา  หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง 2 ปี)  แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ  วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร  เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  อธิการบดี  โดยความเห็นชอบของสภาวิชาการ  ในการประชุมครั้งที่ 38/2544  เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2544  จึงได้กำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะของนักศึกษาไว้  ดังนี้

            1.  การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะในวิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคารเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง  2 ปี)  แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ  วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร

            2.  นักศึกษาที่จะสำเร็จหลักสูตรได้  จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะไม่น้อยกว่า 400  ชั่วโมง

            3.  การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะในวิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน  ดังนี้

                 3.1  การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ ณ  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไม่น้อยกว่า 50 ชั่วโมง นักศึกษาต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะในส่วนนี้ทุกคน  โดยไม่มีการยกเว้น

                 3.2  การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ  ณ สถานประกอบการโรงแรมและภัตตาคาร ไม่น้อยกว่า 350 ชั่วโมง  นักศึกษาอาจได้รับการพิจารณายกเว้นการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะในส่วนนี้ได้ หากมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดในข้อ 6 

            4.  นักศึกษาที่เข้ากรับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะได้ต้องผ่านการลงทะเบียนเรียนและศึกษา  2  ชุดวิชาต่อไปนี้

                 4.1  (71114)  ชุดวิชาการจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

                 4.2  (71215)  ชุดวิชาการจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

            5.  การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ    สถานประกอบการโรงแรมและภัตตาคาร มีเงื่อนไขดังนี้

                 5.1  นักศึกษาจะต้องผ่านการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ    มหาวิทยาลัย (ตามข้อ 3.1) ก่อน  จึงจะแสดงความจำนงขอไปฝึกปฏิบัติเสริมทักษะในสถานประกอบการได้

                  5.2  นักศึกษาจะเข้าฝึกปฏิบัติเสริมทักษะในสถานประกอบการใดต้องได้รับความเห็นชอบจากสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์

                   5.3  นักศึกษาจะเข้าฝึกปฏิบัติเสริมทักษะในสถานประกอบการ โดยสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ส่งหนังสือแจ้งเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะไปยังสถานประกอบการ  และเมื่อสิ้นสุดการฝึกปฏิบ้ติเสริมทักษะแล้ว  ผุ้ที่รับผิดชอบดูแลการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะจะเป็นผู้ประเมินและแจ้งผลการประเมินการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะกลังมายังสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์  ทั้งนี้  นักศึกษาต้องส่งรายงานการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะให้สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ด้วย

                   5.4  นักศึกษาจะต้องฝึกปฏิบัติเสริมทักษะให้ครอบคลุมทั้งงานบริการส่วนหน้า  งานบริการอาหารและเครื่องดื่ม  และงานแม่บ้าน

                    5.5  ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนครบถ้วนตามหลักสูตรและเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ ณ มหาวิทยาลัยแล้ว  แต่ยังมิได้เข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ     สถานประกอบการ  นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนรักษาสถานภาพจนกว่าการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะดังกล่าวจะเสร็จสิ้นอย่างสมบูรณ์ภายในระยะเวลาของหลักสูตร

            6.  นักศึกษามีสิทธิขอยกเว้นการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ    สถานประกอบการได้  ตามเงือนไขข้อใดข้อหนึ่ง  ดังนี้

                  6.1  การยกเว้นแบบไม่มีเงื่อนไข  นักศึกษาที่อาจได้รับการยกเว้นการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ  ณ สถานประกอบการ  แบบไม่มีเงื่อนไข  ต้องเป็นผู้มีประสบการณ์การปฏิบัติงานในสถานประกอบการโรงแรมและภัตตาคาร  ครอบคลุมงานบริการส่วนหน้า งานบริการอาหารและเครื่องดื่ม และงานแม่บ้าน โดยมีระยะเวลารวมกันไม่น้อยกว่า 3 ปี

                  6.2  การยกเว้นแบบมีเงื่อนไข  นักศึกษาที่อาจได้รับการยกเว้นการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ ณ  สถานประกอบการ แบบมีเงื่อนไข  จะต้องทำงานพิเศษเพิ่มเติมตามที่สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์มอบหมาย  โดยนักศึกษาจะต้องมีคุณสมบัติ  ดังนี้

                          6.2.1  มีประสบการณ์การปฏิบัติงานในสถานประกอบการโรงแรมและภัตตาคารในงานบริการส่วนหน้า  หรืองานบริการอาหารและเครื่องดื่ม  หรืองานแม่บ้านงานใดงานหนึ่งเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือ

                          6.2.2  สำเร็จการศึกษาหรือผ่านการอบรมวิชาการโรงแรมและ/หรือภัตตาคาร จากสถาบันการศึกษาที่เน้นวิชาชีพการโรงแรมและ/หรือภัตตาคาร  ซึ่งมีกำหนดระยะเวลาของหลักสูตรรวมกันแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือ

                          6.2.3  มีประสบการณ์การปฏิบัติงานในสถานประกอบการโรงแรมและภัตตาคารในงานบริการส่วนหน้า  หรืองานบริการอาหารและเครื่องดื่ม  หรืองานแม่บ้านงานใดงานหนึ่งเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี และสำเร็จการศึกษาหรือผ่านการอบรมวิชาการโรงแรมและ/หรือภัตตาคาร จากสถาบันการศึกษาที่เน้นวิชาชีพการโรงแรมและ/หรือภัตตาคาร   ซึ่งเมื่อนับรวมระยะเวลาการปฏิบัติงานในสถานประกอบการและการศึกษาหรือ การฝึกอบรมรวมกันแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี

                           6.2.4  มีประสบการณ์ที่เทียบเคียงได้กับข้อ 6.2.1-6.2.3

            ทั้งนี้  คุณสมบัติที่นำมาขอยกเว้นไม่รวมถึงการฝึกปฏิบัติที่ส่วนหนึ่งของวุฒิการศึกษาซึ่งนำมาใช้ในการสมัครเข้าศึกษาต่อหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง  2  ปี)   วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคารของสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

           

            การขอยกเว้นของนักศึกษา  ในข้อ 6  ให้อยู่ในการพิจารณาของสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์  และนักศึกษาสามารถดำเนินการได้เมื่อเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ    มหาวิทยาลัย (ตามข้อ 3.1)  แล้ว  โดยยื่นคำร้องขอยกเว้นการฝึกปฏิบัติ    สถานประกอบการมายังสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์  พร้อมแนบหลักฐานการขอยกเว้นมาเพื่อประกอบการพิจารณา

            7.  การประเมินผลการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ มีหลักเกณฑ์  ดังนี้

                 7.1  นักศึกษาจะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช  และ ณ สถานประกอบการโรงแรมและภัตตาคารครบตามเวลาที่กำหนด

                 7.2  นักศึกษาจะต้องผ่านการประเมินความรู้และความสามารถในการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะตามเกณฑ์ที่สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์กำหนด

                 7.3  ในกรณี๊ที่นักศึกษาไม่ผ่านการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะในส่วนใดส่วนหนึ่ง  นักศึกษาจะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะในส่วนนั้นใหม่  และผ่านการประเมินตามเกณฑ์จึงจะสำเร็จการศึกษาได้

            เวลาการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะของนักศึกษาจำนวนไม่น้อยกว่า  400  ชั่วโมง  จะระบุในใบรายงานผลการศึกษา

            ทั้งนี้ ให้เริ่มใช้ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2  ปีการศึกษา 2544  เป็นต้นไป

 
 
footer

ควรใช้ความละเอียดหน้าจอที่ 1024 by 768 pixels และ Internet Explorer version 5.5 + ขึ้นไป
จัดทำข้อมูลหลักสูตรโดยสำนักวิชาการ จัดทำระบบโดย คณะทำงานเผยแพร่สารสนเทศในระบบอินเตอร์เน็ต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Copyright © STOU Sukhothai Thammathirat OpenUniversity. All rights reserved.