กลับหน้าแรก มสธ.
| STOU | Home |
Administrator
หน้าหลักโครงสร้างหลักสูตร
ประจำปีการศึกษา 2549

| กระดานถาม-ตอบหลักสูตรคำถามถามบ่อย FAQs | ติดต่อสอบถาม |

โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ
ระดับหลักสูตร

          - แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

    - แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกบริหารสาธารณสุข

  • ปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี) 

          - แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์  

          - แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกบริหารสาธารณสุข  

          - แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

          - หลักสูตรแพทย์แผนไทย 

  • ประกาศนียบัตร (1 ปี) 
          - หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ชื่อหลักสูตรและชื่อปริญญา

 

1.       หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

Bachelor  of  Public  Health  Program

      ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต
อักษรย่อ
..
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor  of  Public  Health
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
B.P.H.

2.       หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกบริหารสาธารณสุข

Bachelor  of  Public  Health  Program  in  Public  Health  Administration

      ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต  (บริหารสาธารณสุข)
อักษรย่อ
..  (บริหารสาธารณสุข)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor  of  Public  Health (Public  Health Administration)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
B.P.H.  (Public  Health  Administration)

3.       หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Bachelor  of  Public  Health  Program  in  Occupational  Health  and  Safety

      ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต  (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย)
อักษรย่อ
..  (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor of Public Health (Occupational Health and Safety)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
B.P.H.  (Occupational  Health  and  Safety)

4.       หลักสูตรแพทย์แผนไทยบัณฑิต

Bachelor  of  Thai  Traditional  Medicine  Program

      ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม
แพทย์แผนไทยบัณฑิต
อักษรย่อ
พท..
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor  of  Thai  Traditional  Medicine 
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
B.TM.

5.       หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Certificate  Program  in  Occupational  Health  and  Safety

      ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม
ประกาศนียบัตรวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อักษรย่อ
.อป. 
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Certificate  in  Occupational  Health  and  Safety
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
Cert. in  Occupational  Health  and  Safety

       

คุณสมบัติของผู้สมัคร

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)                                   

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

คุณสมบัติเฉพาะ  เป็นผู้ทำงานประจำในหน่วยงานทางการแพทย์หรือสาธารณสุขของรัฐหรือเอกชน

วุฒิการศึกษา

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรผดุงครรภ์อนามัย หรือประกาศนียบัตรผดุงครรภ์และอนามัย หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ระดับต้น หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ได้แก่  ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์  สาขาเซลล์วิทยา สาขาพยาธิวิทยา สาขาพยาธิวิทยาคลินิก  สาขาโลหิตวิทยาและธนาคารเลือด ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์  ประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์    สาขาพยาธิวิทยา  อนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์ )  หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข)  หรือประกาศนียบัตรทันตาภิบาล  หรือประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ  สาขาทันตกรรม  หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์  (รังสีเทคนิค)  หรือประกาศนียบัตรรังสีการแพทย์  หรือประกาศนียบัตรพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ (รังสีเทคนิค)  หรือประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ (รังสีเทคนิค) หรือประกาศนียบัตรเจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค  หรือ

7.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (เทคนิคเภสัชกรรม)  หรือประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม หรือ

8.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรเวชกรรมฟื้นฟู  หรือ

9.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการแพทย์แผนไทย

 

หมายเหตุ   1.  ผู้สมัครต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขหรือหน่วยงานอื่นที่สำนักงาน

                     .. รับรอง

                2.  วุฒิของผู้สมัครตามข้อ 1-3 ต้องเป็นหลักสูตรที่สภาการพยาบาลรับรอง     

                3.  ผู้สมัครต้องมีประสบการณ์ในการทำงานทางการแพทย์ หรือสาธารณสุขไม่น้อยกว่า 1 ปี ภายหลัง

                     สำเร็จการศึกษานับถึงวันเปิดภาคการศึกษา

                4.  ผู้สำเร็จการศึกษาตามข้อ 1-9 และสำเร็จปริญญาตรีในสาขาอื่นๆ ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษา

                     ทั่วไปเพียง  1  ชุดวิชา  คือ  ชุดวิชา  10151  ไทยศึกษา

                5.  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาตามวุฒิการศึกษาต่อไปนี้

                     5.1  ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์  สาขาเซลล์วิทยา  สาขาพยาธิวิทยาคลินิก  สาขาโลหิต

                            วิทยาและธนาคารเลือด   หรือประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม หรือประกาศนียบัตร

                            การแพทย์แผนไทย ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2539

5.2  ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (เทคนิคเภสัชกรรม)  ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2540

                            ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป  2  ชุดวิชาคือ ชุดวิชา 10151 ไทยศึกษา และชุดวิชา 

                            10152 ไทยกับสังคมโลก

                6.  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาตามวุฒิการศึกษาต่อไปนี้

6.1    ประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2532

6.2   ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาทันตกรรม ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2539

6.3   ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข) ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2540

                           ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป  3  ชุดวิชาคือ ชุดวิชา 10141 วิทยาศาสตร์  

                           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต  ชุดวิชา 10151 ไทยศึกษา  และชุดวิชา 10152 ไทยกับ

                           สังคมโลก

               7.  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาตามวุฒิการศึกษาต่อไปนี้

                    7.1  ประกาศนียบัตรพนักงานเวชกรรมฟื้นฟู ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2536

                    7.2  ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาพยาธิวิทยา ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2539

                    7.3  อนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (รังสีเทคนิค) ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2540

                    7.4  อนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2543  ให้ศึกษาชุดวิชาใน

                           หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  3  ชุดวิชาคือ ชุดวิชา 10103 ทักษะชีวิต  ชุดวิชา 10151 ไทยศึกษา

                           และชุดวิชา 10152 ไทยกับสังคมโลก

                8.  ผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2531-2538

                     ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป  3  ชุดวิชาคือ  ชุดวิชา 10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการ

                     สื่อสาร หรือ 10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร  ชุดวิชา 10151 ไทยศึกษา และชุดวิชา 10152  ไทย

                     กับสังคมโลก 

 

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกบริหารสาธารณสุข

คุณสมบัติเฉพาะ  เป็นผู้ทำงานประจำในหน่วยงานทางการแพทย์หรือสาธารณสุขของรัฐหรือเอกชน

วุฒิการศึกษา

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรผดุงครรภ์อนามัย หรือประกาศนียบัตรผดุงครรภ์และอนามัย หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ระดับต้น หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย  หรืออนุปริญญาพยาบาลผดุงครรภ์อนามัย หลักสูตร 3  ½ - 4 ปี ซึ่งรับจากผู้สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (..3) หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ได้แก่  ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์  สาขาเซลล์วิทยา สาขาพยาธิวิทยา สาขาพยาธิวิทยาคลินิก สาขาโลหิตวิทยาและธนาคารเลือด    ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์  ประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์  สาขาพยาธิวิทยา อนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์ )  หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์  (ทันตสาธารณสุข)  หรือประกาศนียบัตรทันตาภิบาล  หรือประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ  สาขาทันตกรรม  หรือ

7.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์  (รังสีเทคนิค)  หรือประกาศนียบัตรรังสีการแพทย์  หรือประกาศนียบัตรพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์  (รังสีเทคนิค)  หรือประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์  (รังสีเทคนิค) หรือประกาศนียบัตรเจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค  หรือ

8.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (เทคนิคเภสัชกรรม)  หรือประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม หรือ

9.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (สาธารณสุขชุมชน) หรือประกาศนียบัตรพนักงานสาธารณสุข (พนักงานอนามัย) หรือนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารแพทย์ (สาธารณสุขศาสตร์) หรือประกาศนียบัตร

สาธารณสุขศาสตร์ (ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2536)  หรือ

10.   สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรเวชกรรมฟื้นฟู  หรือ

 11. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการแพทย์แผนไทย

 

หมายเหตุ   1.  ผู้สมัครต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขหรือหน่วยงานอื่นที่สำนักงานก..

                    รับรอง

               2.  วุฒิของผู้สมัครตามข้อ 1-4 ต้องเป็นหลักสูตรที่สภาการพยาบาลรับรอง     

               3.  ผู้สมัครต้องมีประสบการณ์ในการทำงานทางการแพทย์ หรือสาธารณสุขไม่น้อยกว่า 1 ปี ภายหลัง

                    สำเร็จการศึกษานับถึงวันเปิดภาคการศึกษา

               4.  ผู้สำเร็จการศึกษาตามข้อ 1-11 และสำเร็จปริญญาตรีในสาขาอื่น ๆ ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษา    

                    ทั่วไปเพียง 1  ชุดวิชา  คือ  ชุดวิชา  10151  ไทยศึกษา

               5.  ผู้สำเร็จการศึกษาตามข้อ 4 และ 9 ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป  2  ชุดวิชาคือ  ชุดวิชา

                   10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หรือ 10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร  และชุดวิชา 10151 ไทยศึกษา

               6.  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาตามวุฒิการศึกษาต่อไปนี้

6.1   ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์  สาขาเซลล์วิทยา สาขาพยาธิวิทยาคลินิก  สาขาโลหิต วิทยาและธนาคารเลือด  หรือประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม หรือประกาศนียบัตรการแพทย์แผนไทย ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2539

6.2   ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (เทคนิคเภสัชกรรม)  ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2540

                          ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป  2  ชุดวิชาคือ ชุดวิชา 10151 ไทยศึกษา และชุดวิชา

                          10152 ไทยกับสังคมโลก

                7.  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาตามวุฒิการศึกษาต่อไปนี้

7.1   ประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2532

7.2   ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาทันตกรรม ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2539

7.3   ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข) ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2540 ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป  3  ชุดวิชาคือ ชุดวิชา10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต  ชุดวิชา 10151 ไทยศึกษา  และชุดวิชา 10152 ไทยกับสังคมโลก

8.       สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาตามวุฒิการศึกษาต่อไปนี้

8.1   ประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานเวชกรรมฟื้นฟู ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2536

8.2   ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาพยาธิวิทยา ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2539

8.3   อนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (รังสีเทคนิค) ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2540

8.4   อนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ.2543  ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป  3  ชุดวิชาคือ ชุดวิชา 10103 ทักษะชีวิต  ชุดวิชา 10151 ไทยศึกษา และชุดวิชา 10152 ไทยกับสังคมโลก

9.       ผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2531-2538

                     ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป  3  ชุดวิชาคือ  ชุดวิชา 10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หรือ

                     10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร  ชุดวิชา 10151 ไทยศึกษา และชุดวิชา 10152  ไทยกับสังคมโลก

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

คุณสมบัติเฉพาะ  เป็นผู้ทำงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ

วุฒิการศึกษา

1.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือสูงกว่าปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือสูงกว่าปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือสูงกว่าปริญญาตรีทางด้านสังคมศาสตร์ หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพยาบาลอนามัยและผดุงครรภ์ หรือประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัยชั้นสูง

หรือเทียบเท่าปริญญาตรีพยาบาลศาสตร์ (พยาบาลศาสตรบัณฑิต) หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย หรืออนุปริญญาพยาบาลอนามัย หรือประกาศนียบัตร

ผดุงครรภ์ หลักสูตร 3 ½  ปี  ซึ่งรับจากผู้สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (..5)  หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย หรืออนุปริญญาพยาบาลผดุงครรภ์อนามัย หลักสูตร

3 ½ -4  ปี  ซึ่งรับจากผู้สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (..3) หรือ

      สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (สาธารณสุขชุมชน) หรือประกาศนียบัตรเจ้าพนักงาน

      สาธารณสุข (พนักงานอนามัย) หรือนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารแพทย์ (สาธารณสุขศาสตร์) หรือ

      ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (ที่สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปี พ.. 2536)

 

หมายเหตุ   1.  ผู้สมัครต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขหรือหน่วยงานอื่นที่สำนักงาน

                      .. รับรอง

                 2.  วุฒิของผู้สมัครตามข้อ 2 ต้องศึกษาเพิ่มในหมวดวิชาเฉพาะอีก 1 ชุดวิชา คือชุดวิชา 50301 การ

                      รักษาพยาบาลเบื้องต้น

                 3.  วุฒิของผู้สมัครตามข้อ 3  ต้องศึกษาเพิ่มในหมวดวิชาเฉพาะอีก  6  ชุดวิชา คือชุดวิชา  50101 

                      วิทยาศาสตร์พื้นฐาน  ชุดวิชา 50301  การรักษาพยาบาลเบื้องต้น   ชุดวิชา 52304  โภชนศาสตร์

                      สาธารณสุข  ชุดวิชา  52307  อนามัยครอบครัวในงานสาธารณสุข  ชุดวิชา  53203 สุขภาพกับการ

                      พัฒนา  และชุดวิชา  56201  โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ                                                             

                 4.  วุฒิของผู้สมัครตามข้อ 4-6  ต้องเป็นหลักสูตรที่สภาการพยาบาลรับรอง

                 5.  วุฒิของผู้สมัครตามข้อ 6-7  ต้องศึกษาชุดวิชาเพิ่มอีก  3 ชุดวิชา  ในหมวดวิชาต่อไปนี้

                      . หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

                          10111   ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร  หรือ10161  ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

                      . หมวดวิชาเฉพาะ  2  ชุดวิชา

                           50101   วิทยาศาสตร์พื้นฐาน  50301   การรักษาพยาบาลเบื้องต้น

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกบริหารสาธารณสุข

คุณสมบัติเฉพาะ  เป็นผู้ทำงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ

วุฒิการศึกษา

1.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือปริญญาตรี  หรือสูงกว่าปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ  หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพยาบาลอนามัยและผดุงครรภ์  หรือประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัยชั้นสูงหรือเทียบเท่าปริญญาตรีพยาบาลศาสตร์ (พยาบาลศาสตรบัณฑิต)  หรือ

3.   สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัยหรืออนุปริญญาพยาบาลอนามัย หรือประกาศนียบัตรผดุงครรภ์ หลักสูตร 3/12 ปี ซึ่งรับจากผู้สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (..5)

 

หมายเหตุ   1.  ผู้สมัครต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขหรือหน่วยงานอื่นที่สำนักงาน

                     .. รับรอง

                2.  วุฒิของผู้สมัครตามข้อ 2-3 ต้องเป็นหลักสูตรที่สภาการพยาบาลรับรอง

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คุณสมบัติเฉพาะ  เป็นผู้ทำงานประจำในสถานประกอบการของรัฐหรือเอกชน

วุฒิการศึกษา

1.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาธารณสุขศาสตร์ หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีพยาบาลศาสตร์ หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีวิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาตรีวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาตรีวิทยาศาสตร์สาขาวิชาฟิสิกส์  เคมี  ชีววิทยา  สิ่งแวดล้อม  สุขาภิบาล

หรือเทคโนโลยีชีวภาพ หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ หรือ

7.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีครุศาสตร์อุตสาหกรรม หรือ

8.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางสังคมศาสตร์ หรือ

9.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมทุกสาขาวิชา หรือ

10.   สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมทุกสาขาวิชา

 

หมายเหตุ   1.  ผู้สมัครต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขหรือสถาบันอุดมศึกษาที่

                     สำนักงาน ก..รับรอง                                                         

                2.  ผู้สมัครที่ปฏิบัติงานในสังกัดกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สามารถใช้วุฒิการศึกษาปริญญาตรี 

                    วิทยาศาสตร์ทุกสาขาสมัครเข้าศึกษาได้                                          

                3.  ผู้สำเร็จการศึกษาตามข้อ 8-10 จะต้องศึกษาชุดวิชาเพิ่มอีก 6 ชุดวิชา ตามโครงสร้างและรายละเอียด

                    ของหลักสูตร                                                       

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

หลักสูตรการแพทย์แผนไทย

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงประเภทวิชาเวชกรรม สาขาวิชาแพทย์แผนไทยประยุกต์  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง  สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ  (การแพทย์แผนไทยประยุกต์) หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการแพทย์แผนไทย  หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือสูงกว่าและสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรการศึกษาด้านการแพทย์แผนไทย หรือได้รับใบอนุญาตรับรองการประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยประเภทเภสัชกรรมไทยหรือเวชกรรมไทย  หรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์)

 

หมายเหตุ   1.  ผู้สมัครต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุข หรือสถาบันอุดมศึกษาที่

                    สำนักงาน ก.พ. รับรอง

                2.  ในขณะเป็นนักศึกษาถ้าพบว่ามีการเจ็บป่วยทางจิตที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้าน

                    จิตเวชว่าไม่สามารถจะศึกษาต่อได้หรือเป็นภัยต่อผู้อื่นจะพิจารณาให้พ้นสภาพจากการเป็นนักศึกษา

          

 

ระดับประกาศนียบัตร (1 ปี)

ประกาศนียบัตรวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คุณสมบัติเฉพาะ  เป็นผู้ทำงานในสถานประกอบการของรัฐหรือเอกชน

วุฒิการศึกษา

1.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง  และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า  5  ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองโดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25  ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา

4.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (4 ปี)

 

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์ 

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล  หรือประกาศนียบัตรผดุงครรภ์อนามัย หรือประกาศนียบัตรผดุงครรภ์และอนามัย  หรือประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ระดับต้น  หรือประกาศนียบัตรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์  หรือประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข) หรือประกาศนียบัตรทันตาภิบาล  หรือประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ  สาขาทันตกรรม  หรืออนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (รังสีเทคนิค) หรือประกาศนียบัตรรังสีการแพทย์ หรือประกาศนียบัตรพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ (รังสีเทคนิค)  หรือประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ (รังสีเทคนิค)  หรือประกาศนียบัตรเจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค  หรือประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (เทคนิคเภสัชกรรม)  หรือประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม หรือประกาศนียบัตรเวชกรรมฟื้นฟู  หรือประกาศนียบัตรการแพทย์แผนไทย   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               5   ชุดวิชา          (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         2   ชุดวิชา          (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    16   ชุดวิชา           (96  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา           (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  24  ชุดวิชา  หรือ  144  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  5  ชุดวิชา

บังคับ  4  ชุดวิชา

10103 ทักษะชีวิต

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา

10152 ไทยกับสังคมโลก

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ข.      หมวดวิชาแกน  2  ชุดวิชา

50103 สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

52302 วิทยาการระบาดและการควบคุมโรค

ค.      หมวดวิชาเฉพาะ  16  ชุดวิชา

50101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

50102 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

50301 การรักษาพยาบาลเบื้องต้น

52203 อนามัยสิ่งแวดล้อม

52204 กฎหมายเกี่ยวกับสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และนิติเวชศาสตร์

52303 สุขศึกษาและการประชาสัมพันธ์งานสาธารณสุข

52304 โภชนศาสตร์สาธรณสุข

52305 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

52306 การทำงานชุมชนด้านสาธารณสุข

52307 อนามัยครอบครัวในงานสาธารณสุข

52401 การวางแผนงานสาธารณสุข

52402 ประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข

53203 สุขภาพกับการพัฒนา

53404 การบริหารระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข

53405 หลักเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข

56201 โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ

.   หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

  

ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิชาเอกบริหารสาธารณสุข

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล  หรือประกาศนียบัตรผดุงครรภ์อนามัย  หรือประกาศนียบัตรผดุงครรภ์และอนามัย  หรือประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ระดับต้น  หรือประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย หรืออนุปริญญาพยาบาลผดุงครรภ์อนามัย หรือประกาศนียบัตรทางวิทยาศาสตร์การแพทย์  หรือประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (ทันต สาธารณสุข)  หรือประกาศนียบัตรทันตาภิบาล หรือประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาทันตกรรม หรืออนุปริญญาวิทยาศาสตร์การแพทย์  (รังสีเทคนิค) หรือประกาศนียบัตรรังสีการแพทย์  หรือประกาศนียบัตรพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ (รังสีเทคนิค) หรือประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ (รังสีเทคนิค)  หรือประกาศนียบัตรเจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค หรือประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (เทคนิคเภสัชกรรม)  หรือประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม  หรือประกาศนียบัตร   สาธารณสุขศาสตร์ (สาธารณสุขชุมชน)  หรือประกาศนียบัตรพนักงานสาธารณสุข (พนักงานอนามัย)  หรือนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารแพทย์ (สาธารณสุขศาสตร์) หรือประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์  หรือประกาศนียบัตรเวชกรรมฟื้นฟู  หรือประกาศนียบัตรการแพทย์แผนไทย มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               5   ชุดวิชา          (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         2   ชุดวิชา          (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    15   ชุดวิชา           (90  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา            (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  23  ชุดวิชา  หรือ  138  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   5  ชุดวิชา

      บังคับ  4  ชุดวิชา

      10103 ทักษะชีวิต

      10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

      10151 ไทยศึกษา

      10152 ไทยกับสังคมโลก

      และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

      10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

      10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

.   หมวดวิชาแกน  2  ชุดวิชา

      50103 สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

      52302 วิทยาการระบาดและการควบคุมโรค

.   หมวดวิชาเฉพาะ   15   ชุดวิชา

52204 กฎหมายเกี่ยวกับสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และนิติเวชศาสตร์

52303 สุขศึกษาและการประชาสัมพันธ์งานสาธารณสุข

52306 การทำงานชุมชนด้านสาธารณสุข

52401 การวางแผนงานสาธารณสุข

53202 การสาธารณสุขทั่วไป

53203 สุขภาพกับการพัฒนา

53303 การจัดการสาธารณภัย

53304 การบริหารองค์การและทรัพยากรสาธารณสุข

53305 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในงานสาธารณสุข

53404 การบริหารระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข

53405 หลักเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข

53406 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารสาธารณสุข

56201 โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ

57203 ทางเลือกสำหรับผู้บริโภคทางสาธารณสุข

57301 การบริหารงานคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือสูงกว่าปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง หรือประกาศนียบัตรพยาบาลอนามัยและผดุงครรภ์ หรือประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัยชั้นสูง หรือเทียบเท่าปริญญาตรีพยาบาลศาสตร์  หรือประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย หรืออนุปริญญาพยาบาลอนามัย หรือประกาศนียบัตรผดุงครรภ์หลักสูตร 3 1/2 ปี   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                           1   ชุดวิชา            (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                                     2   ชุดวิชา          (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                                  8   ชุดวิชา          (48  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                                1   ชุดวิชา            (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

      10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2   ชุดวิชา

50103 สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

52302 วิทยาการระบาดและการควบคุมโรค

.   หมวดวิชาเฉพาะ   8   ชุดวิชา

52203 อนามัยสิ่งแวดล้อม

52204 กฎหมายเกี่ยวกับสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และนิติเวชศาสตร์

52303 สุขศึกษาและการประชาสัมพันธ์งานสาธารณสุข

52305 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

52306 การทำงานชุมชนด้านสาธารณสุข

52401 การวางแผนงานสาธารณสุข

52402 ประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข

53404 การบริหารระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือสูงกว่าปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           2   ชุดวิชา    (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                        9   ชุดวิชา    (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  13  ชุดวิชา  หรือ  78  หน่วยกิต

(2) รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2  ชุดวิชา

50103 สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

52302 วิทยาการระบาดและการควบคุมโรค

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

50301 การรักษาพยาบาลเบื้องต้น

52203 อนามัยสิ่งแวดล้อม

52204 กฎหมายเกี่ยวกับสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และนิติเวชศาสตร์

52303 สุขศึกษาและการประชาสัมพันธ์งานสาธารณสุข

52305 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

52306 การทำงานชุมชนด้านสาธารณสุข

52401 การวางแผนงานสาธารณสุข

52402 ประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข

53404 การบริหารระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือสูงกว่าปริญญาตรีทางด้านสังคมศาสตร์  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      14   ชุดวิชา         (84  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  18  ชุดวิชา  หรือ  108  หน่วยกิต

(2) รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2  ชุดวิชา

50103 สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

52302 วิทยาการระบาดและการควบคุมโรค

.   หมวดวิชาเฉพาะ   14   ชุดวิชา

      50101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

50301 การรักษาพยาบาลเบื้องต้น

52203 อนามัยสิ่งแวดล้อม

52204 กฎหมายเกี่ยวกับสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และนิติเวชศาสตร์

52303 สุขศึกษาและการประชาสัมพันธ์งานสาธารณสุข

52304 โภชนศาสตร์สาธารณสุข

52305 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

52306 การทำงานชุมชนด้านสาธารณสุข

52307 อนามัยครอบครัวในงานสาธารณสุข

52401 การวางแผนงานสาธารณสุข

52402 ประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข

53203 สุขภาพกับการพัฒนา

53404 การบริหารระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข

56201 โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย หรืออนุปริญญาพยาบาลผดุงครรภ์อนามัยหลักสูตร      3 ½ - 4 ปีหรือประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (สาธารณสุขชุมชน) หรือประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานสาธารณสุข (พนักงานอนามัย) หรือนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารแพทย์ (สาธารณสุขศาสตร์) หรือประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์    มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10   ชุดวิชา         (60  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา         (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  15  ชุดวิชา  หรือ  90  หน่วยกิต

(2) รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   2   ชุดวิชา

      10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หรือ 10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2  ชุดวิชา

50103 สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

52302 วิทยาการระบาดและการควบคุมโรค

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

      50101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

50301 การรักษาพยาบาลเบื้องต้น

52203 อนามัยสิ่งแวดล้อม

52204 กฎหมายเกี่ยวกับสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และนิติเวชศาสตร์

52303 สุขศึกษาและการประชาสัมพันธ์งานสาธารณสุข

52305 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

52306 การทำงานชุมชนด้านสาธารณสุข

52401 การวางแผนงานสาธารณสุข

52402 ประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข

53404 การบริหารระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิชาเอกบริหารสาธารณสุข  

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือสูงกว่าปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง หรือประกาศนียบัตรพยาบาลอนามัยและผดุงครรภ์ หรือประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัยชั้นสูง หรือเทียบเท่าปริญญาตรีพยาบาลศาสตร์ หรือประกาศนียบัตรพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย หรืออนุปริญญาพยาบาลอนามัย หรือประกาศนียบัตรผดุงครรภ์ หลักสูตร 3 ½ ปี   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10   ชุดวิชา         (60  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  14  ชุดวิชา  หรือ  84  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2   ชุดวิชา

50103 สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

52302 วิทยาการระบาดและการควบคุมโรค

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

52204 กฎหมายเกี่ยวกับสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และนิติเวชศาสตร์

52401 การวางแผนงานสาธารณสุข

53202 การสาธารณสุขทั่วไป

53303 การจัดการสาธารณภัย

53304 การบริหารองค์การและทรัพยากรสาธารณสุข

53305 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในงานสาธารณสุข

53404 การบริหารระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข

53405 หลักเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข

53406 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารสาธารณสุข

57301 การบริหารงานคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาธารณสุขศาสตร์ หรือปริญญาตรีพยาบาลศาสตร์หรือปริญญาตรีวิทยาศาสตร์สุขภาพ หรืออนุปริญญา หรือปริญญาตรีวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรืออนุปริญญา หรือปริญญาตรีวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาฟิสิกส์  เคมี ชีววิทยา สิ่งแวดล้อม สุขาภิบาล หรือเทคโนโลยีชีวภาพ หรืออนุปริญญา หรือปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ หรือปริญญาตรีครุศาสตร์อุตสากรรม  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                       10   ชุดวิชา    (60   หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   1   ชุดวิชา

50103 สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

.   หมวดวิชาชีพ   10   ชุดวิชา

52302 วิทยาการระบาดและการควบคุมโรค

54102 การบริหารงานความปลอดภัย

54103 หลักความปลอดภัยในการทำงาน

54104 สุขศาสตร์อุตสาหกรรมพื้นฐาน

54105 กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ

54106 พิษวิทยาและเวชศาสตร์อุตสาหกรรม

54107 การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและเออร์กอนอมิคส์

54109 เออร์กอนอมิคส์และจิตวิทยาในการทำงาน

54110 การจัดสวัสดิการเพื่อสุขภาพของพนักงานและครอบครัว

54111 ประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์  วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางสังคมศาสตร์ หรือ ปวส. หรือ ปวท. ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมทุกสาขา  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           4   ชุดวิชา        (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                          12   ชุดวิชา         (72  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         11   ชุดวิชา         (66  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก           1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  18  ชุดวิชา  หรือ  108  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   2   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

50101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

.   หมวดวิชาแกน   4   ชุดวิชา

50102 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

50103 สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

52302 วิทยาการระบาดและการควบคุมโรค

53202 การสาธารณสุขทั่วไป

.   หมวดวิชาชีพ   12   ชุดวิชา

บังคับ 11 ชุดวิชา

52203 อนามัยสิ่งแวดล้อม

52304 โภชนศาสตร์สาธารณสุข

54102 การบริหารงานความปลอดภัย

54103 หลักความปลอดภัยในการทำงาน

54104 สุขศาสตร์อุตสาหกรรมพื้นฐาน

54105 กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ

54106 พิษวิทยาและเวชศาสตร์อุตสาหกรรม

54107 การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์

54109 เออร์กอนอมิคส์และจิตวิทยาในการทำงาน

54110 การจัดสวัสดิการเพื่อสุขภาพของพนักงานและครอบครัว

54111 ประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

50301 การรักษาพยาบาลเบื้องต้น

53303 การจัดการสาธารณภัย

56201 โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ

 

 

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (แพทย์แผนไทย 2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

หลักสูตรแพทย์แผนไทย

สำเร็จการศึกษา ปวส.   ประเภทวิชาเวชกรรม  สาขาวิชาแพทย์แผนไทยประยุกต์  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                            9   ชุดวิชา        (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  13  ชุดวิชา  หรือ  78  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2   ชุดวิชา

53202 การสาธารณสุขทั่วไป

55301 การวิจัยสำหรับการแพทย์แผนไทย

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

55302 วิทยาศาสตร์ในการแพทย์แผนไทย

55303 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาการแพทย์

55304 แนวคิดและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย

55306 เภสัชพฤกษศาสตร์

55307 การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

55308 เวชกรรมแผนไทย

55309 จรรยาวิชาชีพและกฎหมายเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย

55310 นวดแผนไทย

55312 ประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทย

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

หลักสูตรแพทย์แผนไทย

สำเร็จการศึกษา ปวส.  สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (การแพทย์แผนไทยประยุกต์) มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                           10   ชุดวิชา        (60  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  14  ชุดวิชา  หรือ  84  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน  2  ชุดวิชา

53202 การสาธารณสุขทั่วไป

55301 การวิจัยสำหรับการแพทย์แผนไทย

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10  ชุดวิชา

55302 วิทยาศาสตร์ในการแพทย์แผนไทย

55303 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาการแพทย์

55304 แนวคิดและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย

55305 ธรรมมานามัย

55306 เภสัชพฤกษศาสตร์

55307 การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

55309 จรรยาวิชาชีพและกฎหมายเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย

55310 นวดแผนไทย

55311 การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

55312 ประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทย

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

หลักสูตรแพทย์แผนไทย

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการแพทย์แผนไทย จากวิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขกาญจนาภิเษก สถาบันพระบรมราชชนก   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                           10   ชุดวิชา        (60  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  14  ชุดวิชา  หรือ  84  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2   ชุดวิชา

53202 การสาธารณสุขทั่วไป

55301 การวิจัยสำหรับการแพทย์แผนไทย

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

55302 วิทยาศาสตร์ในการแพทย์แผนไทย

55303 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาการแพทย์

55304 แนวคิดและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย

55305 ธรรมมานามัย

55307 การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

55308 เวชกรรมแผนไทย

55309 จรรยาวิชาชีพและกฎหมายเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย

55310 นวดแผนไทย

55311 การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

55312 ประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทย

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

หลักสูตรแพทย์แผนไทย

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือสูงกว่าทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ และมีประกาศนียบัตรการศึกษาหลักสูตรเภสัชกรรมแผนไทย  หรือมีใบประกอบโรคศิลปะเภสัชกรรมแผนไทย  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป     1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาแกน                            1   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาชีพ                           10    ชุดวิชา        (60  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเลือกเสรี                       1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  13  ชุดวิชา  หรือ  78  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   1   ชุดวิชา

55301 การวิจัยสำหรับการแพทย์แผนไทย

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

55302 วิทยาศาสตร์ในการแพทย์แผนไทย

55303 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาการแพทย์

55304 แนวคิดและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย

55305 ธรรมมานามัย

55306 เภสัชพฤกษศาสตร์

55308 เวชกรรมแผนไทย

55309 จรรยาวิชาชีพและกฎหมายเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย

55310 นวดแผนไทย

55311 การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

55312 ประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทย

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

หลักสูตรแพทย์แผนไทย

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือสูงกว่าไม่ใช่ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและมีประกาศนียบัตรการศึกษาหลักสูตรเภสัชกรรมแผนไทย  หรือมีใบประกอบโรคศิลปะเภสัชกรรมแผนไทย  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                          10   ชุดวิชา         (60  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  14  ชุดวิชา  หรือ  84  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2   ชุดวิชา

53202 การสาธารณสุขทั่วไป

55301 การวิจัยสำหรับการแพทย์แผนไทย

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

55302 วิทยาศาสตร์ในการแพทย์แผนไทย

55303 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาการแพทย์

55304 แนวคิดและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย

55305 ธรรมมานามัย

55306 เภสัชพฤกษศาสตร์

55308 เวชกรรมแผนไทย

55309 จรรยาวิชาชีพและกฎหมายเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย

55310 นวดแผนไทย

55311 การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

55312 ประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทย

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

หลักสูตรแพทย์แผนไทย

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือสูงกว่าทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและมีประกาศนียบัตรการศึกษาหลักสูตรเภสัชกรรม    แผนไทยและเวชกรรมไทย  หรือมีใบประกอบโรคศิลปะเภสัชกรรมแผนไทยและเวชกรรมไทย  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป     1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาแกน                            1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาชีพ                             9   ชุดวิชา        (54  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเลือกเสรี                       1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   1   ชุดวิชา

55301 การวิจัยสำหรับการแพทย์แผนไทย

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

55302 วิทยาศาสตร์ในการแพทย์แผนไทย

55303 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาการแพทย์

55304 แนวคิดและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย

55305 ธรรมมานามัย

55306 เภสัชพฤกษศาสตร์

55308 เวชกรรมแผนไทย

55309 จรรยาวิชาชีพและกฎหมายเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย

55310 นวดแผนไทย

55312 ประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทย

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

หลักสูตรแพทย์แผนไทย

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือสูงกว่าไม่ใช่ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและมีประกาศนียบัตรการศึกษาหลักสูตรเภสัชกรรมแผนไทย  หรือมีใบประกอบโรคศิลปะเภสัชกรรมแผนไทย และเวชกรรมไทย  มีโครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           2   ชุดวิชา        (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                            9   ชุดวิชา        (54  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  13  ชุดวิชา  หรือ  78  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2   ชุดวิชา

53202 การสาธารณสุขทั่วไป

55301 การวิจัยสำหรับการแพทย์แผนไทย

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

55302 วิทยาศาสตร์ในการแพทย์แผนไทย

55303 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาการแพทย์

55304 แนวคิดและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย

55305 ธรรมมานามัย

55306 เภสัชพฤกษศาสตร์

55308 เวชกรรมแผนไทย

55309 จรรยาวิชาชีพและกฎหมายเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย

55310 นวดแผนไทย

55312 ประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทย

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

 

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (1 ปี)

ระดับประกาศนียบัตร  (1  ปี)

ประกาศนียบัตรวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย  

สำเร็จการศึกษา ม.3  หรือเทียบเท่า หรือ ม.6 หรือเทียบเท่า มีโครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

หมวดวิชาเฉพาะ                     6   ชุดวิชา          (36  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  6  ชุดวิชา  หรือ  36  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

หมวดวิชาเฉพาะ   6   ชุดวิชา

54102 การบริหารงานความปลอดภัย

54103 หลักความปลอดภัยในการทำงาน

54104 สุขศาสตร์อุตสาหกรรมพื้นฐาน

54105 กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ

54106 พิษวิทยาและเวชศาสตร์อุตสาหกรรม

54107 การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์

 

คำอธิบายชุดวิชา
เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

                       การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี  นักศึกษาสามารถเลือกศึกษาได้จากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยยกเว้นชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

ก.      ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

ข.      ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่น ๆ ในหลักสูตรที่เรียน

ค.      ชุดวิชาที่มีการกำหนดคุณสมบัติและทักษะพื้นฐานไว้โดยเฉพาะ

ชุดวิชาต่างๆ ที่สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพไม่อนุญาตให้เลือกเป็นชุดวิชาเลือกเสรีตามลักษณะดังกล่าวข้างต้นมีรายชื่อดังนี้

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์   วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

4  ปี  และต่อเนื่อง  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

19.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

20.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

21.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

22.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

23.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย 

                            และเออร์กอนอมิคส์                                             

24.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

25.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

26.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

27.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

28.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

29.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

30.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

31.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

32.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

33.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

34.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

35.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

36.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

37.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

38.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

39.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

40.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและ

                            การพิมพ์ไร้แรงกด

41.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

 

 

 

 

                       

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์   วิชาเอกบริหารสาธารณสุข

4  ปี  และต่อเนื่อง  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

19.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

20.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

21.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

22.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

23.   ชุดวิชา  52301  การบริหารสาธารณสุขทั่วไป

24.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย 

                           และเออร์กอนอมิคส์

25.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

26.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

27.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

28.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

29.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

30.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

31.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

32.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

33.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

34.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

35.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

36.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

37.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

38.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

39.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

40.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

41.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและ

                            การพิมพ์ไร้แรงกด

42.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

  

 

 

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

หลักสูตรแพทย์แผนไทย

ต่อเนื่อง  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  22331  สังคมศึกษา  3:  เศรษฐศาสตร์สำหรับครู

18.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

19.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

20.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

21.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

22.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

23.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

24.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย 

                            และเออร์กอนอมิคส์

25.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

26.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

27.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

28.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

29.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

30.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

31.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

32.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

33.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

34.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

35.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

36.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

37.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

38.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

39.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

40.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

41.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและ

                            การพิมพ์ไร้แรงกด

42.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเกินโครงสร้างหลักสูตร

 

               นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนชุดวิชาหรือรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเกินโครงสร้างหลักสูตรได้ยกเว้น ชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

                1.  ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

                2.  ชุดวิชา หรือรายวิชาที่มีเนื้อหาและภาคปฏิบัติในการอบรมเข้ม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการไว้เฉพาะสำหรับหลักสูตรนั้นๆ

                3.  ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่นๆ ในหลักสูตรที่เรียน            

ชุดวิชาต่างๆ ที่สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพไม่อนุญาตให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเกินโครงสร้างหลักสูตรตามลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีรายชื่อดังนี้

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่อนุญาตให้ลงทะเบียนเรียนเกินโครงสร้างหลักสูตร

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์   วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์

4  ปี  และต่อเนื่อง  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย 

                            และเออร์กอนอมิคส์

19.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

20.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

21.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

22.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

23.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

24.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

25.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

26.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

27.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

28.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

29.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

30.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

31.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

32.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

33.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

34.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

35.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและ

                            การพิมพ์ไร้แรงกด

36.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่อนุญาตให้ลงทะเบียนเรียนเกินโครงสร้างหลักสูตร

แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์   วิชาเอกบริหารสาธารณสุข

4  ปี  และต่อเนื่อง  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  52301  การบริหารสาธารณสุขทั่วไป

19.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย 

                            และเออร์กอนอมิคส์

20.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

21.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

22.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

23.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

24.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

25.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

26.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

27.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

28.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

29.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

30.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

31.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

32.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

33.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

34.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

35.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

36.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและ

                            การพิมพ์ไร้แรงกด

37.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่อนุญาตให้ลงทะเบียนเรียนเกินโครงสร้างหลักสูตร

หลักสูตรแพทย์แผนไทย

ต่อเนื่อง  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  22331  สังคมศึกษา  3:  เศรษฐศาสตร์สำหรับครู

18.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

19.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

20.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

21.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

22.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

23.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

24.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย 

                            และเออร์กอนอมิคส์

25.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

26.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

27.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

28.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

29.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

30.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

31.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

32.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

33.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

34.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

35.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

36.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

37.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

38.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

39.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและ

                            การพิมพ์ไร้แรงกด

40.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

                                                                                                                                                                

 

การศึกษาภาคปฏิบัติหลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

 

            การฝึกปฏิบัติในหลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย  เป็นการฝึกปฏิบัติที่กำหนดขึ้นสำหรับนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนใน  2  ชุดวิชาต่อไปนี้  คือ

            1.  ชุดวิชาการฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์  ซึ่งจำแนกการฝึกปฏิบัติออกเป็น 2 ประเภท  ได้แก่  การฝึกด้วยตนเองและการฝึกเสริมทักษะ และ

2.  ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย  ซึ่งนักศึกษาจะต้องเข้ารับการฝึกอบรมเข้ม

กิจกรรมและแนวทางการฝึกปฏิบัติหลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

1. ชุดวิชาการฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย  และเออร์กอนอมิคส์

    1.1  การฝึกด้วยตนเอง หมายถึง การฝึกปฏิบัติของนักศึกษาตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ในแต่ละหน่วยของเอกสารการสอน  โดยกำหนดให้นักศึกษาใช้เวลาทำกิจกรรม  1   หน่วยการสอน  ประมาณ 3 ชั่วโมง  ดังนั้น  ใน 15 หน่วยการสอน  นักศึกษาจะต้องใช้เวลาฝึกด้วยตนเองรวม  45 ชั่วโมง

     1.2  การฝึกเสริมทักษะ  หมายถึง  การฝึกปฏิบ้ติที่ทางมหาวิทยาลัยจัดขึ้น  เพื่อประเมินความรู้เจตคติ  และทักษะการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม  ความปลอดภัยและเออร์กอนอมิคส์  โดยมีอาจารย์สอนเสริมเป็นผู้ให้คำแนะนำและควบคุมการฝึกและประเมินผลการฝึกเสริมทักษะจะจัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยและโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ 

            จำนวนชั่วโมงในการฝึกเสริมทักษะ  รวม 34  ชั่วโมง  เพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ  ดังนี้  ชมวีดิทัศน์เกี่ยวกับสภาวะและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน  เตรียมการสำรวจโรงงานและการใช้แบบประเมินต่างๆ   การฝึกปฏิบัติในโรงงานด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม  ความปลอดภัยและเออร์กอนอมิคส์  และการอภิปรายผลการฝึกปฏิบัติ  การฝึกอัคคีภัย และการอพยพฉุกเฉิน  การฝึกปฏิบัติด้านเออร์กอนอมิคส์จากสถานการณ์จำลอง  การทดสอบความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรม  และชมวีดิทัศน์เกี่ยวกับห้องปฏิบัติการต่างๆ

2.  ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

            การฝึกปฏิบัติในชุดวิชานี้เป็นการฝึกอบรมเข้ม  ซึ่งหมายถึงการเข้ารับการอบรมเข้มเป็นจำนวน 6 วันตามระยะเวลาและสถานที่ที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินผล

            การประเมินผลทั้งสองชุดวิชาข้างต้นนั้น  นักศึกษาจะต้องสอบผ่านทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในกรณีที่สอบไม่ผ่านนักศึกษาจะต้องปฏิบัติตามประกาศมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  เรื่องแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินผลและการสอบซ่อมชุดวิชาที่มีการฝึกปฏิบัติ  และชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพ

 

การศึกษาภาคปฏิบัติหลักสูตรแพทย์แผนไทย

 

                การฝึกปฏิบัติในหลักสูตรแพทย์แผนไทยเป็นการฝึกปฏิบัติที่กำหนดขึ้นสำหรับนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนใน   3  ชุดวิชาต่อไปนี้คือ

  1. ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย
  2. ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย
  3. ชุดวิชา  55312  ประสบการณ์วิชาชีพการแพทย์แผนไทย

กิจกรรมและแนวทางการฝึกปฏิบัติหลักสูตรแพทย์แผนไทย

1.1  การฝึกด้วยตนเอง  เป็นการฝึกปฏิบัติทางการแพทย์แผนไทยในด้านที่ศึกษา  การให้คำแนะนำให้คำปรึกษา  และการแก้ปัญหาสุขภาพแก่ผู้รับบริการทางการแพทย์แผนไทยในขณะปฏิบัติหน้าที่ประจำ  หรือฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด

1.2  ฝึกปฏบัติตามมอบหมาย  เป็นการฝึกปฏิบัติเฉพาะด้านตามที่ชุดวิชานั้นๆ  กำหนด  ด้วยการศึกษาด้วยตนเองเป็นรายกรณี  และทำการสังเกต  ปฏิบัติหรือทดลองจนได้ทักษะตามที่กำหนดให้ศึกษาโดยมีอาจารย์ที่มีความสามารถเฉพาะ (อาจารย์ฝึกปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย)  ไห้คำแนะนำและประเมินผล

1.3  ฝึกเสริมทักษะ  เป็นการฝึกปฏิบัติเฉพาะด้านตามลักษณะของชุดวิชา  เช่น  การเสริมทักษะต่างๆ  การอภิปรายผลการฝึกปฏิบัติ  การแลกเปลี่ยนประสบการณ์  การศึกษาดูงานเพิ่มเติม  ซึ่งมหาวิทยาลัยจะกำหนดระยะเวลาที่แน่นอนเพื่อเข้ารับการฝึกตามสถานที่ที่กำหนด  โดยมีอาจารย์สอนเสริมฝึกเสริมทักษะที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งเป็นผุ้ควบคุมและประเมินผล

1.4  การฝึกอบรมเข้ม  เป็นการฝึกปฏิบัติที่เกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ  การทำงานเป็นทีม  การวิเคราะห์สถานการณ์จำลองเพื่อการแก้ไขปัญหา  การจัดการด้วยการวางแผน  การดำเนินการ  และการพัฒนางาน

            การฝึกปฏิบัติหลักสูตรแพทย์แผนไทยในแต่ละชุดวิชามีจำนวนหน่วยกิต  ประเภทและชั่วโมงการฝึกปฏิบัติ  และคะแนนการประเมินผล  ดังแสดงในตารางข้างล่างนี้

 

 

ชุดวิชา

 

จำนวน

หน่วยกิต

ประเภทและจำนวนชั่วโมงการฝึกปฏิบัติ

การประเมินผล

ฝึกด้วยตนเอง

ฝึกตามมอบหมาย

ฝึกเสริมทักษะ

ฝึกอบรมเข้ม

รวมชั่วโมงฝึกปฏิบัติ

คะแนนข้อ

เขียน

คะแนนการฝึกปฏิบัติ

รวมคะแนน  100

รายงาน

ทักษะ

รวม

55307 การฝึกปฏิบัติเภสัช

         พฤกษศาสตร์และเภสัช

         กรรมแผนไทย

6

130

200

30

-

360

40

30

30

60

100

55311 การฝึกปฏิบัติเวชกรรม

          และนวดแผนไทย

6

75

240

45

-

360

40

30

30

60

100

55312 ประสบการณ์วิชาชีพ

         การแพทย์แผนไทย

6

200

80

-

80

360

40

10

50

60

100

 

การประเมินผล

            การประเมินผลทั้ง 3  ชุดวิชาดังกล่าว  นักศึกษาจะต้องได้คะแนนการฝึกปฏิบัติของแต่ละชุดวิชาไม่น้อยกว่าร้อยละ  60  (36  คะแนน)  จึงจะถือว่าสอบผ่าน

 

 

 

 

 
 
footer

ควรใช้ความละเอียดหน้าจอที่ 1024 by 768 pixels และ Internet Explorer version 5.5 + ขึ้นไป
จัดทำข้อมูลหลักสูตรโดยสำนักวิชาการ จัดทำระบบโดย คณะทำงานเผยแพร่สารสนเทศในระบบอินเตอร์เน็ต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Copyright © STOU Sukhothai Thammathirat OpenUniversity. All rights reserved.