องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1.2 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของหน่วยงาน (สมศ. 17 และ ก.พ.ร. 3)
(ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ของหน่วยงาน : พัฒนาจาก สมศ. 17 )
รอบปีที่ใช้นับผลงาน : ปีการศึกษา 2553 (1 กรกฎาคม 2553 – 30 มิถุนายน 2554)
ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน (ระดับสาขาวิชา/หน่วยงานสนับสนุน) :
เกณฑ์มาตรฐาน
ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์
รายการเอกสารอ้างอิง
1.
มีการกำหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงานที่สอดคล้อง
กับจุดเน้น จุดเด่นหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ของหน่วยงาน โดยได้รับการเห็นชอบจาก
รองอธิการบดี ที่กำกับดูแล
มีการกำหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับ
จุดเน้น/จุดเด่นของสำนักวิชาการ และผ่านความเห็นชอบ
จากรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการที่กำกับดูแลแล้ว ดังนี้
  จุดเน้น / จุดเด่น ที่สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของ
สำนักวิชาการ “การสนับสนุนงานวิชาการในระบบ
การศึกษาทางไกลอย่างมีคุณภาพ”
กลยุทธ์
การปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับจุดเน้น/
จุดเด่นของสำนักวิชาการ
  * 1. สนับสนุนการพัฒนา/ปรับปรุงการจัด
การเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2552 ( TQF )
 
2.
สนับสนุนการดำเนินงานของฝ่ายวิชาการ
 
3.
สนับสนุนการพัฒนาคณาจารย์
4.
สนับสนุนการอบรมประสบการณ์วิชาชีพ
* กลยุทธ์ที่จะดำเนินการตามจุดเน้น/จุดเด่น
ในปีการศึกษา 2553
สว.1.1.2-1(1) แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ฉบับปรับปรุง(พ.ศ.2554-2558)
ของสำนักวิชาการ
สว.1.1.2-1(2) สำเนาหนังสือที่รองอธิการบดี ที่กำกับดูแลให้ความ
เห็นชอบการกำหนดจุดเน้น / จุดเด่นของหน่วยงาน
2.
มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของบุคลากร
ในการปฏิบัติตามกลยุทธ์ที่กำหนด
อย่างครบถ้วนสมบูรณ์
มีการเปิดโอกาสให้บุคลากรภายในหน่วยงานมีส่วนร่วม
ในการกำหนดและปฏิบัติตามกลยุทธ์ โดยมีการถ่ายทอด
กลยุทธจากแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ฉบับปรับปรุง
(พ.ศ.2554-2558) ของหน่วยงาน สู่แผนปฏิบัติการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 และกำหนดหน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบ ผู้มีส่วนร่วมในการดำเนินการในแต่ละ
โครงการ/กิจกรรมไว้อย่างชัดเจน โดยได้คำนึงถึงการ
มีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
สว.1.1.2-2(1) แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2554-2558)
ของสำนักวิชาการ
สว.1.1.2-2(2) แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2554
ของสำนักวิชาการ
3.
มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากร ที่เกี่ยวกับการดำเนินการตามจุดเน้น และจุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ของหน่วยงานอยู่ในระดับตั้งแต่ 3.51
ขึ้นไป จากคะแนนเต็ม 5
มีการประชุมบุคลากรเรื่อง “แนวทางการบริหารหลักสูตร
ภายใต้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 ( TQF )” เพื่อให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยน
เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการทำงานที่สะท้อนความเป็น
เอกลักษณ์ของสำนักวิชาการ และประเมิน ความคิดเห็น
บุคลากรพบว่าบุคลากรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทาง
ดังกล่าวในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยของผลการประเมิน
เท่ากับ 4.10 จากคะแนนเต็ม 5
สว.1.1.2-3(1) แบบสอบถามความคิดเห็นการจัดกิจกรรม
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “ แนวทาง
การบริหารหลักสูตรภายใต้กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552
(TQF) ”
สว.1.1.2-3(2) สรุปผลการประเมินความคิดเห็นบุคลากร
สำนักวิชาการในการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
“แนวทางการบริหารหลักสูตรภายใต้กรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 (TQF) ”
(เฉพาะประเด็นความคิดเห็นข้อ 5 บุคลากร
มีความรู้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับแนวทางการบริหาร
หลักสูตรภายใต้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 ( TQF))
4.
ผลการดำเนินงานบรรลุตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหน่วยงาน
และเกิดผลกระทบ ที่เกิดประโยชน์และ
สร้างคุณค่าต่อสังคม
มีการดำเนินงานพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
(TQF) เพื่อให้หลักสูตรของ มสธ.เป็นไปตาม พ.ร.บ.
การศึกษาแห่งชาติและให้นักศึกษา มสธ.เป็นไป
ตามความต้องการของสังคม และประเทศชาติ
การดำเนินการให้หลักสูตรของมหาวิทยาลัย เป็นไป
ตามกรอบมาตรฐาน TQF ดังกล่าว มหาวิทยาลัย
โดยสำนักวิชาการ จึงได้แต่งตั้ง
1)
คณะทำงานพัฒนาระบบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
อุดมศึกษามาตรฐานกลางระบบการสอนทางไกล
ของ มสธ.
2)
คณะทำงานพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้
กลยุทธ์การสอน และการประเมินผล และ
3)
คณะทำงานจัดทำแนวทางการประมาณการค่าใช้จ่าย
ต่อหัวในการผลิตบัณฑิต เพื่อพิจารณาข้อมูล
ในประเด็นต่าง ๆ ที่จะบรรจุในรายละเอียดหลักสูตร
(มคอ.2) และได้พัฒนา/ปรับปรุง Template มคอ.2
ทุกระดับการศึกษาให้มีความถูกต้องครบถ้วน
สมบูรณ์ ตามเกณฑ์ที่กระทรวงศึกษาธิการ สกอ.
และ มสธ. กำหนดเผยแพร่ทาง Intranet ของ
สำนักวิชาการ เพื่อให้สาขาวิชาใช้เป็นแนวทาง
ในการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร นอกจากนี้ยังได้มี
การจัดประชุมสัมมนา และจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
เพื่อจัดทำมาตรฐานผลการเรียนรู้ของหมวดวิชา
ศึกษาทั่วไป อีกทั้งด้จัดประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหา
แนวทางการดำเนินงานเก็บข้อมูลสำหรับรายงานผล
การดำเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) กรณีที่
ข้อกำหนดของ สกอ.ไม่สอดคล้องกับบริบทของ มสธ.
ก็จะหารือ สกอ. ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็น
ทางการเพื่อพิจารณาปรับหรือยืดหยุ่นข้อกำหนด
ดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อให้หลักสูตรและการจัดการเรียน
การสอนของสาขาวิชาเป็นไปตามเอกลักษณ์และ
อัตลักษณ์ของ มสธ.
นอกจากนี้ สำนักวิชาการยังได้รวบรวมและสรุป
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ในการพัฒนาปรับปรุง
และบริหารหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ สกอ. และ
มสธ. จัดทำเป็นระบบและกลไกในการพัฒนาปรับปรุง
และบริหารหลักสูตร ส่งให้คณาจารย์สาขาวิชาต่าง ๆ ให้
ข้อคิดเห็น ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ กรณีที่มีประเด็นจาก
สาขาวิชาที่ต้องพิจารณา เพิ่มเติมจะนำเสนอรองอธิการบดี
ฝ่ายวิชาการ และคณะทำงานพัฒนาระบบมาตรฐาน
คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา มาตรฐานกลางระบบการสอน
ทางไกลของ มสธ.พิจารณาและยังได้นำเสนอสภาวิชาการ
สภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ/อนุมัติด้วย
  ผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2553 มีดังนี้
1)
จัดทำระบบและกลไกการพัฒนา ปรับปรุง และบริหาร
หลักสูตรของ มสธ.
2)
จัดทำ Template มคอ.2 ายละเอียดหลักสูตร ระดับ
ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอกของ มสธ.
3)
จัดทำ Template มคอ.3 – มคอ.6 ชุดวิชา มสธ.
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 (TQF)
4)
จัดสัมมนาเพื่อจัดทำมาตรฐานผลการเรียนรู้หมวด
วิชาศึกษาทั่วไป ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
อุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552
5)
ตรวจร่างหลักสูตรที่พัฒนา / ปรับปรุง ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 ให้สาขาวิชาก่อนเสนอสภาวิชาการ
มีการพัฒนาคณาจารย์โดยจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิควิธีการสอนระดับอุดมศึกษา เรื่องการออกแบบ
กิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางปัญญาตามกรอบมาตรฐาน
TQF สำหรับการเรียนการสอนทางไกลเพื่อให้คณาจารย์
ของมหาวิทยาลัย มีความรู้และทักษะการออกแบบ
กิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางปัญญาตามกรอบมาตรฐาน
TQF สำหรับการเรียนการสอนทางไกลที่มุ่งหวังได้อย่าง
ถูกต้องและเหมาะสมกับระบบทางไกล

ผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2553 จัดการอบรม
1 ครั้ง ครั้งละ 2 วัน

1)
วันที่ 14 มิถุนายน 2554 เวลา 9.00 – 16.00 น.
ณ ห้องประชุม 234 อาคารสัมมนา 2 มีผู้เข้าอบรม
29 คน
2)
วันที่ 21 มิถุนายน 2554 เวลา 9.002 – 16.00 น.
ณ ห้องประชุม 234 อาคารสัมมนา 2 มีผู้เข้าอบรม
19 คน
สว.1.1.2-4(1) จำนวนหลักสูตรของ มสธ.ที่พัฒนา/ปรับปรุงแล้วเสร็จ
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 ( TQF ) ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2554
จำนวน 12 หลักสูตร
สว.1.1.2-4(2) คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา มาตรฐานกลางระบบ
การสอนทางไกล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สว.1.1.2-4(3) คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน พัฒนามาตรฐานผล
การเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
สว.1.1.2-4(4) คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน จัดทำแนวทางประมาณการ
ค่าใช้จ่ายต่อหัวในการผลิตบัณฑิต
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
สว.1.1.2-4(5) ระบบและกลไกการพัฒนาหลักสูตรภายใต้กรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2552 (TQF )
สว.1.1.2-4(6) แบบฟอร์มการจัดทำ Template มคอ.2 – 7
(http://e-Service สำนักวิชาการ-ฝ่ายพัฒนาหลักสูตร
และการสอน - TQF และแบบฟอร์ม - Template )
สว.1.1.2-4(7) รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติ เรื่อง การจัดทำ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2552 (TQF) ในวันที่ 18 ตุลาคม 2553
   
   
   
   
สว.1.1.2-4(8) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิควิธีการสอน
ระดับอุดมศึกษา เรื่อง การออกแบบกิจกรรมที่ส่งเสริม
ทักษะทางปัญญาตามกรอบมาตรฐาน TQF สำหรับ
การเรียนการสอนทางไกล และใบเซ็นชื่อผู้เข้าอบรม
สว.1.1.2-4(9) รายนามผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิควิธี
การสอนระดับอุดมศึกษา เรื่อง การออกแบบกิจกรรม
ที่ส่งเสริมทักษะทางปัญญาตามกรอบมาตรฐาน TQF
สำหรับการเรียนการสอนทางไกล จำนวน 2 รุ่น
5.
หน่วยงานมีเอกลักษณ์ตามจุดเน้น จุดเด่น
หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะที่กำหนด และได้รับ
การยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ
   
เกณฑ์การประเมิน (ระดับสาขาวิชา / หน่วยงานสนับสนุน) :
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดำเนินการ
1 ข้อ
มีการดำเนินการ
2 ข้อ
มีการดำเนินการ
3 ข้อ
มีการดำเนินการ
4 ข้อ
มีการดำเนินการ
5 ข้อ
ผลการประเมิน
ค่าเป้าหมาย
การบรรลุเป้าหมาย
ตัวตั้ง
ตัวหาร
ผลลัพธ์
(% หรือสัดส่วน)
คะแนนการประเมิน
หมายเหตุ
ประเมินตนเอง
4 ข้อ
4 ข้อ
4 คะแนน
คณะกรรมการประเมิน
4 ข้อ
4 คะแนน
* การบรรลุเป้าหมาย = บรรลุเป้าหมาย = ไม่บรรลุเป้าหมาย

จุดเด่น
  มีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องเกี่ยวข้องกับจุดเน้น/จุดเด่นของสำนักอย่างชัดเจน
จุดที่ควรพัฒนา
ควรมีผลการดำเนินงานและรายงานให้ครบถ้วนตามกลยุทธ์การปฏิบัติงานทั้ง 4 ข้อ โดยอาจเน้นที่ประเด็น TQF ได้
โอกาสในการพัฒนา/ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
ควรปรับปรุงการเขียนรายงานการประเมินตนเองให้เห็นภาพของการพัฒนางาน การสนับสนุนการศึกษาทางไกล
โดยการจัดทำ TQF นั้นทางสำนักต้องปรับและดำเนินการให้เข้ากับลักษณะการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมหาวิทยาลัยปิด
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กำหนด ซึ่งแสดงให้เห็นงานที่มีความยากลำบาก
ย้อนกลับ