องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ (สกอ. 7.2 และ ก.พ.ร. 15.2)
รอบปีที่ใช้นับผลงาน : ปีงบประมาณ 2553 (1 ตุลาคม 2552 – 30 กันยายน 2553)
ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน (ระดับสาขาวิชา/หน่วยงานสนับสนุน) :
เกณฑ์มาตรฐาน
ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์
รายการเอกสารอ้างอิง
1.
มีการกำหนดประเด็นความรู้และ เป้าหมายของ
การจัดการความรู้ ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
การจัดการความรู้ของหน่วยงาน
อย่างน้อย 1 พันธกิจ
มีการกำหนดประเด็นความรู้ และเป้าหมายของ
การจัดการความรู้ ที่สอดคล้องกับแผนการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ 2553ซึ่งมีความสอดคล้องกับแผน
ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ 5 ปี (พ.ศ.2553 – 2557) ของสำนักวิชาการ เรื่อง การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2552 (TQF)
โดยเน้นเรื่องการพัฒนา
ทักษะความรู้ความสามารถของบุคลากรภายใน ให้สามารถสนับสนุนการดำเนินงานวิชาการของสาขาวิชา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพันธกิจ
สำนักวิชาการ
สว.7.2-1(1) เอกสารวิสัยทัศน์ พันธกิจของสำนักวิชาการ
สว.7.2-1(2) แผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ 5 ปี
(พ.ศ.2553 – 2557) สำนักวิชาการทบทวน
เมื่อ 30 มิถุนายน 2553
สว.7.2-1(3) แผนการจัดการความรู้มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ประจำปีงบประมาณ 2553 สำนักวิชาการ ทบทวน
เมื่อ 30 มิถุนายน 2553
2.
กำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และ
ทักษะให้สอดคล้องกับประเด็นความรู้ที่กำหนด
ในข้อ 1
มีการกำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับการพัฒนา
ความรู้และทักษะ โดยกำหนดให้ นักวิชาการศึกษา
ประจำฝ่ายต่าง ๆ ของสำนักวิชาการ ที่รับผิดชอบงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้แก่
สาขาวิชา จำนวน 21 คน เข้ารับการสัมมนาทางวิชาการ
เรื่อง “กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2552 (TQF)” เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2552
สว.7.2-2(1) รายชื่อนักวิชาการศึกษาสำนักวิชาการที่เข้าสัมมนา
ทางวิชาการ เรื่อง "กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
อุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 (TQF)”
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2552 เวลา 08.30 – 17.00 น
ณ ห้องประชุมสามศร อาคารอเนกนิทัศน์
3.
มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (Tacit Knowledge)
เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่
กำหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่ม
เป้าหมายที่กำหนด
มีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก จำนวน 3 ท่าน
1.
ดร.จิรณี ตันติรัตนวงศ์
(อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา)
2.
รองศาสตราจารย์ ดร.สุคนธ์ชื่น ศรีงาม
(อดีตอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
3.
รองศาสตราจารย์ ดร.ฉลองศรี พิมลสมพงศ์ (อาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
  ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท่านเป็นผู้ที่มีความรู้
ความสามารถและประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 ( TQF ) โดยการ
บรรยาย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ซึ่งผลที่ได้รับจาก
การสัมมนา นักวิชาการศึกษา สามารถนำความรู้ที่
ได้รับมาบูรณาการกับงานประจำ
มีความเข้าใจและ
มีความชัดเจนในแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสนับสนุน
การบริหารหลักสูตรฯ มากขึ้น ได้รับมอบหมายจาก
มหาวิทยาลัยในการทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ เพื่อให้
การสนับสนุนข้อมูลและข้อเสนอแนะ ในคณะทำงาน
พัฒนาระบบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
มาตรฐานกลาง ระบบการสอนทางไกล มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช คณะทำงานจัดทำ แนวทางการ
ประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวในการผลิตบัณฑิต และ
คณะทำงานจัดทำมาตรฐานการ พัฒนารายละเอียด
ชุดวิชาของ มสธ.
  นอกจากนี้สำนักเล็งเห็นความสำคัญ และ
ประโยชน์ที่จะนำไปใช้ จึงได้รวบรวมองค์ความรู้
เป็น DVD และ นำเผยแพร่บนระบบ
http://eservice.stou.ac.th/ สำนักวิชาการ
อีกทางหนึ่ง
สว.7.2-3(1) สำเนาหนังสือเชิญเป็นวิทยากร ที่ ศธ 0522.05(04)/
ว567 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2552
สว.7.2-3(2) คำสั่งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชที่ 532/2553
เรื่องแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษามาตรฐานกลาง ระบบการสอนทางไกล
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช คำสั่งมหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช ที่ 1029/2553 เรื่อง แต่งตั้ง
คณะทำงานจัดทำแนวทางประมาณการค่าใช้จ่าย
ต่อหัวในการผลิตบัณฑิต และคำสั่งมหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช ที่ 212/2553 เรื่อง แต่งตั้ง
คณะทำงานจัดทำมาตรฐานการพัฒนารายละเอียด
ชุดวิชาของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สว.7.2-3(3) DVD การสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง
“กรอบมาตรฐานคุณวุฒิะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 (TQF)"
สว.7.2-3(4) http://eservice.stou.ac.th/ สำนักวิชาการ /
ฝ่ายพัฒนาหลักสูตรและการสอน / TQF และ
แบบ ฟอร์ม / Power point วิทยากร
4.
มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กำหนด
ในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลหรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็น
ระบบ โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
( Explicit Knowledge )
มีการรวบรวมความรู้ และแนวปฏิบัติที่ดีที่ได้รับจากการ
สัมมนามาพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยจัดทำ
Template และแบบฟอร์มต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร
ของ มสธ. เช่น Template มคอ.2 รายละเอียดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี มสธ.(TQF)เผยแพร่ให้นักวิชาการ-
ศึกษา คณาจารย์ และผู้สนใจอื่น บนระบบ
http://eservice.stou.ac.th/สำนักวิชาการ
เพื่อเป็นประโยชน์แก่นักวิชาการศึกษาคณาจารย์
และผู้สนใจทั่วไป
สว.7.2-4(1) http://eservice.stou.ac.th/ สำนักวิชาการ /
ฝ่ายพัฒนาหลักสูตรและการสอน / TQF และ
แบบฟอร์ม / Template และแบบฟอร์มต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร มสธ. / Template มคอ.2
รายละเอียดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี มสธ. (TQF)
5.
มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ ในปี
งบประมาณปัจจุบันหรือปีที่ผ่านมาที่เป็นลายลักษณ์
อักษร (Explicit Knowledge)และจากความรู้ ทักษะ
ของผู้มีประสบการณ์ตรง (Tacit Knowledge )
ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง
1.
มีการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างแนวปฏิบัติ
ที่ดี และ Template มคอ.2 เผยแพร่บนระบบ
http://eservice.stou.ac.th/ ของสำนักวิชาการ
เพื่อให้สาขาวิชานำไปปรับใช้ตามบริบทของ
สาขาวิชา เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2553
2.
มีการรับฟังปัญหาและนำข้อเสนอแนะ Feedback
จากสาขาวิชาที่นำ Template มคอ.2 ไปใช้
มาปรับปรุง
3.
นักวิชาการศึกษาฝ่ายพัฒนาหลักสูตรและการสอน
นำความรู้และแนวปฏิบัติที่ดีไปปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วย
เลขานุการคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร
ทุกหลักสูตร ซึ่งเป็นกลไกที่จะทำให้ทราบจุดเด่น
จุดด้อยของการใช้ Template มคอ.2 และเป็น
ส่วนหนึ่งของการได้มาซึ่ง Feedback ที่จะนำมา
ปรับปรุง Template มคอ.2 ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
4.
มีการติดตาม/สรุปผลการดำเนินงานพัฒนา/
ปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (TQF)
เสนอผู้บริหาร
สว.7.2-5(1) http://eservice.stou.ac.th/ สำนักวิชาการ /
ฝ่ายพัฒนาหลักสูตรและการสอน / TQF และ
แบบฟอร์ม / Template และแบบฟอร์มต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร มสธ. / Template มคอ.2
รายละเอียดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี มสธ.(TQF)
สว.7.2-5(2) สถิติการปรับปรุง Template มคอ.2
สว.7.2-5(3) จำนวนหลักสูตรที่แล้วเสร็จในการพัฒนา/ปรับปรุง
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2552 (TQF)
เกณฑ์การประเมิน (ระดับสาขาวิชา / หน่วยงานสนับสนุน) :
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดำเนินการ
1 ข้อ
มีการดำเนินการ
2 ข้อ
มีการดำเนินการ
3 ข้อ
มีการดำเนินการ
4 ข้อ
มีการดำเนินการ
5 ข้อ
ผลการประเมิน
ค่าเป้าหมาย
การบรรลุเป้าหมาย
ตัวตั้ง
ตัวหาร
ผลลัพธ์
(% หรือสัดส่วน)
คะแนนการประเมิน
หมายเหตุ
ประเมินตนเอง
4 ข้อ
5 ข้อ
5 คะแนน
คณะกรรมการประเมิน
5 ข้อ
5 คะแนน
* การบรรลุเป้าหมาย = บรรลุเป้าหมาย = ไม่บรรลุเป้าหมาย

จุดเด่น
-
 
จุดที่ควรพัฒนา
-
 
โอกาสในการพัฒนา/ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
-
ย้อนกลับ