องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (สกอ. 9.1 และ ก.พ.ร. 7.1)
รอบปีที่ใช้นับผลงาน : ปีงบประมาณ 2553 (1 ตุลาคม 2552 – 30 กันยายน 2553)
ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน (ระดับสาขาวิชา/หน่วยงานสนับสนุน) :
เกณฑ์มาตรฐาน
ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์
รายการเอกสารอ้างอิง
1.
มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับพันธกิจและ
พัฒนาการของหน่วยงานสนับสนุน และดำเนินการ
ตามระบบที่กำหนด
1)
มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับ
หน่วยงานสนับสนุนทำหน้าที่ในการวางนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กำกับ ควบคุม ดูแล ในการ
ประกันคุณภาพการศึกษา
2)
มีการนำคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา ประจำปี
การศึกษา 2553 ของมหาวิทยาลัยมาใช้เป็นกรอบ
ในการดำเนินการตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
3)
มีการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับ
หน่วยงานสนับสนุน จำนวน 3 องค์ประกอบ ได้แก่
-
องค์ประกอบที่ 1 จำนวน 2 ตัวบ่งชี้
-
องค์ประกอบที่ 7 จำนวน 4 ตัวบ่งชี้
-
องค์ประกอบที่ 9 จำนวน 1 ตัวบ่งชี้
4)
มีการตั้งคณะทำงานจัดทำคู่มือประกันคุณภาพ
การศึกษาและรายงาน การประเมินตนเอง เพื่อ
รับผิดชอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง
5)
มีการจัดทำรายงานการประเมินตนเองและรับ
การตรวจ ประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน
ของหน่วยงานในทุกปีการศึกษา
6)
มีการนำผลการประเมินไปจัดทำแผนยกระดับ
การประกันคุณภาพการศึกษาประจำปี
สว.9.1-1(1) คำสั่งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่ 3122/2552 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา
ระดับสำนัก สำนักวิชาการ
สว.9.1-1(2) คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปีการศึกษา 2553
สว.9.1-1(3) คำสั่งสำนักวิชาการ ที่ 752/2552 เรื่อง แต่งตั้ง
คณะทำงานจัดทำคู่มือประกันคุณภาพการศึกษา
และรายงานการประเมินตนเอง
สว.9.1-1(4) รายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2553
สว.9.1-1(5) รายงานการประเมินตนเอง ปี 2545 - จนถึงปัจจุบัน
สว.9.1-1(6) แผนยกระดับการประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2553
2.
มีการกำหนดนโยบายและให้ความสำคัญเรื่อง
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยคณะ
กรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุดของ
หน่วยงานสนับสนุน
ในปีการศึกษา 2553 สำนักวิชาการ ได้มีการประชุม
คณะทำงานจัดทำคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาและ
รายงานการประเมินตนเอง จำนวน 3 ครั้ง เพื่อรับทราบ
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ
สำนักวิชาการและมีการทบทวนนโยบายการประกัน
คุณภาพศึกษาของสำนักวิชาการ ให้สอดคล้องกับ
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย
สว.9.1-2(1) รายงานการประชุมคณะทำงานจัดทำคู่มือประกัน
คุณภาพการศึกษาและรายงานการประเมินตนเอง
- ครั้งที่ 5/2553 วันที่ 20 ธันวาคม 2553
- ครั้งที่ 1/2554 วันที่ 4 มีนาคม 2554
- ครั้งที่ 2/2554 วันที่ 25 เมษายน 2554
3.
มีการกำหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของ
หน่วยงานสนับสนุน และมีผลการดำเนินการตาม
ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์
มีการกำหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติม โดย สำนักวิชาการ
มีตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ จำนวน 1 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ตัวบ่งชี้
ที่ 1.1.2 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผล
สะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของหน่วยงาน ทั้งนี้
ผลการดำเนินงานของตัวบ่งชี้ดังกล่าวปรากฎอยู่ใน
รายงานการประเมินตนเอง ของ สำนักวิชาการ
องค์ประกอบที่ 1
.
สว.9.1-3(1) รายงานการประเมินตนเอง สำนักวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2553 หน้า 14
(ตัวบ่งชี้ที่ 1.1.2)
4.
มีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย
1)
การควบคุม ติดตามการดำเนินงาน
และประเมินคุณภาพ
2)
การจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงาน
ประเมินคุณภาพเสนอต่อมหาวิทยาลัย
ตามกำหนดเวลา และ
3)
การนำผลการประเมินคุณภาพไปทำแผน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยงาน
สนับสนุน
1.
มีการควบคุม ติดตามการดำเนินการ และประเมิน
คุณภาพการศึกษาที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ตาม
มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ของ สกอ.
2.
มีการจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงาน
การประเมินคุณภาพและเสนอต่อมหาวิทยาลัย
ตามกำหนดเวลาเป็นประจำทุกปี
3.
นำผลการประเมินคุณภาพไปปรับปรุงผล
การดำเนินงาน โดยจัดทำเป็นแผนยกระดับ
การประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักวิชาการ
4.
มีการเผยแพร่รายงานประจำปีที่เป็นรายงาน
การประเมินตนเองผ่าน Web Site ของ
สำนักวิชาการ
สว.9.1-4(1) รายงานการประชุมคณะทำงานจัดทำคู่มือประกัน
คุณภาพการศึกษาและรายงานการประเมินตนเอง
- ครั้งที่ 5/2553 วันที่ 20 ธันวาคม 2553
- ครั้งที่ 1/2554 วันที่ 4 มีนาคม 2554
- ครั้งที่ 2/2554 วันที่ 25 เมษายน 2554
สว.9.1-4(2) รายงานการประเมินตนเอง สำนักวิชาการ
ประจำปีการศึกษา 2553 หน้า
สว.9.1-4(3) http://eservice.stou.ac.th/ สำนักวิชาการ :
การประกันคุณภาพ
5.
มีการนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
มาปรับปรุงการทำงาน และส่งผลให้มีการพัฒนา
ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์
ของหน่วยงานสนับสนุน
สำนักวิชาการ ได้นำผลการประกันคุณภาพรวมทั้ง
ข้อเสนอแนะจากกรรมการประเมินคุณภาพประจำปี
มาพัฒนากำหนดโครงการและส่งผลให้มีการพัฒนา
ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ของ
สำนักวิชาการ คือ การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรให้เป็น
ไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
(TQF )
สว.9.1-5(1) แผนยกระดับการประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2553
สว.9.1-5(2) แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ.2553-2557)
ของสำนักวิชาการ
6.
มีการนำข้อมูลในระบบสารสนเทศของ
มหาวิทยาลัยไปใช้สนับสนุนการประกัน
คุณภาพการศึกษา
สำนักวิชาการ ได้นำข้อมูลในระบบสารสนเทศด้าน
การประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยที่จัดทำ
โดยศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้
ในการ จัดทำรายงานการประเมินตนเอง เพื่อรองรับ
การตรวจประกันคุณภาพการศึกษาเป็นประจำทุกปี
ดังจะเห็นได้จากรายงานการประเมินตนเอง ในส่วนที่ 1
ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลบุคลากร และข้อมูลงบประมาณ
ซึ่งเป็นข้อมูลที่จัดเก็บในช่วงเวลาเดียวกันของทุกปี
ทำให้ข้อมูลของ สำนักวิชาการสอดคล้องเป็นไป
ในทิศทางเดียวกันกับของมหาวิทยาลัย
  นอกจากนี้ เนื่องจากมหาวิทยาลัยดำเนินงาน
ในลักษณะของการรวมบริการ ประสานภารกิจ โครงสร้าง
ของสาขาวิชาต่างๆ ของมหาวิทยาลัย จะมีขนาดเล็กและ
เน้นพันธกิจด้านการเรียนการสอนเป็นหลัก ส่วนพันธกิจ
อื่นๆ อาทิ พันธกิจด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการ
แก่สังคม และด้านศิลปวัฒนธรรม จะเป็นการดำเนินงาน
ในภาพรวมระดับมหาวิทยาลัยโดยมีหน่วยงานสนับสนุน
เป็นผู้รับผิดชอบ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องกำหนดเจ้าภาพหลัก
รับผิดชอบตามตัวบ่งชี้ต่างๆ ที่สอดคล้องกับพันธกิจ
ของหน่วยงานนั้นๆ และเป็นผู้รายงานผลการดำเนินงาน
ตามตัวบ่งชี้ดังกล่าว เพื่อส่งให้ศูนย์ประสานงาน
การประกันคุณภาพการศึกษานำไปจัดทำฐานข้อมูลกลาง
สำหรับการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของ
มหาวิทยาลัยและของสาขาวิชา
สว.9.1-6(1) http://eservice.stou.ac.th/EDOC UMENT/QAChannel/default2.asp
7.
มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้าน
การประกันคุณภาพการศึกษาร่วมกัน
ภายในสถาบัน
สำนักวิชาการได้ส่งผู้แทนเข้าร่วม กิจกรรมแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่มหาวิทยาลัย
จัดขึ้น เมื่อวันที่ 15 – 17 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรม
ทาวน์อินทาวน์ พัทยา จังหวัดชลบุรี จำนวน 4 คน

สว.9.1-7(1) โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเตรียมความพร้อม
รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปี
การศึกษา 2553 (ครั้งที่ 3) และคำสั่งมหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช ที่ 329 / 2554 เรื่องให้บุคลากร
เดินทางไปปฏิบัติราชการต่างจังหวัดเพื่อประชุม
เชิงปฏิบัติการ เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมิน
คุณภาพฯ
8.
มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
ที่หน่วยงานพัฒนาขึ้นและเผยแพร่ให้หน่วยงานอื่น
สามารถนำไปใช้ประโยชน์
   
เกณฑ์การประเมิน (ระดับสาขาวิชา / หน่วยงานสนับสนุน) :
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดำเนินการ
1 ข้อ
มีการดำเนินการ
2 หรือ 3 ข้อ
มีการดำเนินการ
4 หรือ 5 ข้อ
มีการดำเนินการ
6 หรือ 7 ข้อ
มีการดำเนินการ
8 ข้อ
ผลการประเมิน
ค่าเป้าหมาย
การบรรลุเป้าหมาย
ตัวตั้ง
ตัวหาร
ผลลัพธ์
(% หรือสัดส่วน)
คะแนนการประเมิน
หมายเหตุ
ประเมินตนเอง
6 ข้อ
7 ข้อ
4 คะแนน
คณะกรรมการประเมิน
7 ข้อ
4 คะแนน
ขาดข้อ 8
* การบรรลุเป้าหมาย = บรรลุเป้าหมาย = ไม่บรรลุเป้าหมาย

จุดเด่น
มีคณะทำงานฯ ที่มีผู้แทนจากฝ่ายต่างๆ ครบทุกฝ่าย และเป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ
จุดที่ควรพัฒนา
1
ควรจัดทำเอกสารอ้างอิงในรูปแบบของ e-documents เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินได้ศึกษาล่วงหน้า
2
ควรรายงานถึงผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ตัวอื่นๆ ด้วย นอกเหนือจากการปรับหลักสูตร
ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน
3
ยังไม่มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการประกันคุณภาพที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น
โอกาสในการพัฒนา/ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
1
สำนักวิชาการมีคณะทำงานฯ ที่เป็นผู้แทนจากฝ่ายต่างๆ ครบทุกฝ่าย จึงควรมีการกำหนดผู้รับผิดชอบ
ตามองค์ประกอบคุณภาพที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจน
2
ควรริเริ่ม แสวงหาแนวทางพัฒนาระบบประกันคุณภาพของหน่วยงานให้มีความโดดเด่นและเป็นแบบอย่าง
ให้แก่หน่วยงานอื่นๆ ได้นำไปใช้ประโยชน์
ย้อนกลับ