เป้าหมายและผลผลิตที่ได้จากการจัดการความรู้ของ สบศ. ตั้งแต่ปี 2549 – 2550

 

เป้าหมาย

ผลผลิต

1.บุคลากรมีส่วนร่วมและมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ KM. ภายใน 2 ปี

 

1.มีการทำงานเป็นทีมภายใน สบศ.ระหว่าง ศูนย์ฯ ฝ่ายต่าง ๆ ของ สบศ. โดยเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม

การเป็นคณะกรรมการ KM.

- มีการหมุนเวียนผู้รับผิดชอบคณะทำงาน KM.

2.มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าวงหน่วยงานภายนอก สบศ. เช่น สาขาวิชา สำนักคอมพิวเตอร์ / สำนักเทคโนโลยี

การศึกษา

2. การจัดการความรู้ถือเป็นงานประจำของ สบศ. ที่ต้อง ดำเนินการกิจกรรมตลอดปี

1. มีวาระการรายงานผลการปฏิบัติงานการจัดการความรู้เสนอที่ประชุม

ผู้บริหารสำนักฯ อย่างต่อเนื่องและตลอดปี (ปี 2549 – 2550)

3.การปรับปรุงกระบวนการการให้บริการอย่างน้อย 1 เรื่อง

 

1.มีการประชุมปรับปรุงกระบวนงานการจัดฝึกโดยการทำแผนการดำเนินการเป็นรูปเล่ม ระหว่างสาขาวิชานิเทศศาสตร์ สำนักเทคโนโลยีการศึกษาปี 2550 – 2551

2.การสืบค้นข้อมูลนักศึกษาจากสำนักทะเบียนและวัดผลได้หลายช่องทางและรวดเร็วขึ้น(ปี 2550)

3. มี Web site ของ สบศ. เผยแพร่การจัดการความรู้ของ สบศ. ปี 2549

4.มีโปรแกรมการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการฝึกผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ 1 โปรแกรม (อยู่ระหว่าง ดำเนินการ ปี 2549 – 2550)

5. มีโปรแกรมการตอบรับของนักศึกษาที่จะเข้าฝึกผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ 1 โปรแกรม (ปี 2549 – 2550)

4. ให้ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจ

ในปี 2550 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

 

1. ผลการประเมินความพึงพอใจการให้บริการการจัดฝึกให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรีรวม 8 สาขาวิชา 32 ชุดวิชา ในภาพรวมอยู่ในระดับดี (คะแนน 4.06) คิดเป็นร้อยละ 81.25 (ผลการประเมินของ ก.พ.ร.)

2.ผลการประเมินความพึงพอใจการให้บริการการจัดปฐมนิเทศให้กับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ในภาพรวมอยู่ในร ะดับดี (คะแนน 4.08) คิดเป็นร้อยละ 81.60 (ผลการประเมินของ ก.พ.ร.)