แนวปฏิบัติที่ดีความรู้เรื่องหลักเกณฑ์การเลือกกลยุทธ์
หลักเกณฑ์การเลือกกลยุทธ์ 1. หลักเกณฑ์ประกอบการพิจารณากำหนดกลยุทธ์ เช่น - โอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย - ระดับของกลยุทธุ์ต้องเข้ากับหลักเกณฑ์มาตรฐาน - จะช่วยขจัดหรือลดอุปสรรคและข้อขัดขัองที่อาจจะเกิดขึ้นจากการนำไปใช 2. ข้อพึงระวังในการกำหนดรูปแบบกลยุทธ์ เช่น - เข้าใจง่ายและมีคำอธิบายเพื่อความเข้าใจที่ชัดแจ้ง ถ้าเป็นการเสนอเพื่อการพิจารณา - การอธิบายให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจ ควรต้องอธิบายรายละเอียดเป็นขั้นตอนและมีระบบ 3. ความสําเร็จและความล้มเหลวของการเลือกกลยุทธ์ ผลลัพธ์ดังกล่าวอาจจะเกิดจากความบกพร่อง ดังนี 3.1 เกิดจากการละเลยการวิเคราะห์ที่ดีพอ 3.2เกิดจากการวิเคราะห์ที่เข้าข้างตนเอง 3.3 เกิดจากการวิเคราะห์ที่ไร้ประโยชน์ การจัดทำทางเลือกของกลยุทธ การจัดทำ TOWS matrix/SWOT matrix เพื่อจัดทำทางเลือกของกลยุทธ์ ประกอบด้วยปัจจัยภายในคือ จุดอ่อน (W = Weakness) จุดแข็ง (S= Strengths) และปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย ภาวะคุกคาม/ข้อจำกัด (T= Threats) และโอกาส (O= Opportunities) จะทำให้ได้ทางเลือกกลยุทธ์ 4 แบบ คือ § กลยุทธ์ SO : จุดแข็งภายในดี และยังมีโอกาสจากภายนอกที่ดีด้วย เป็นกลยุทธ์ที่ควรจะเลือกมากที่สุด § กลยุทธ์ ST : เป็นกลยุทธ์ที่องค์กรเลือกใช้จุดเด่นของตนเอง ภายใต้ข้อจำกัดของสถานการณ์ภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ § กลยุทธ์ WO : เป็นการกาหนดกลยุทธ์ ของกิจการที่พอจะมีโอกาสอยู่บ้าง แต่ต้องตัดจุดอ่อนที่อาจจะกระทบต่อการดำเนินงานขององค์กร § กลยุทธ์ WT : เป็นทางเลือกของกลยุทธ์ที่อาจเรียกว่าตั้งรับ โดยพยายามลดจุดอ่อน และหลีกเลี่ยงข้อจำกัดต่างๆ ซึ่งในบางสถานการณ์ไม่สามารถเลือกกลยุทธ์ด้านอื่นได้ การกำหนดกลยุทธ์ด้วยวิธีการอื่นๆ 1. การกาหนดกลยุทธ์ตามตัวแบบของ Boston Consulting Group (BCG) ได้เสนอแนวคิดการวิเคราะห์การวางทิศทางกลยุทธ์ว่าจะรุกหรือจะรับในทางธุรกิจ โดยนำปัจจัยทางความเจริญเติบโตของตลาด มาเปรียบเทียบกับส่วนแบ่งทางการตลาดที่เป็นจริง (โดยทั้งสองปัจจัยแบ่งระดะบออกเป็นสูงและต่ำ) ในรูปของ Matrix จะทำให้ได้กลยุทธ์ 4 แบบ คือ แบบดาวรุ่ง (stars) แบบวัวเงิน (Cash Cow) แบบเด็กมีปัญหา (Problem Child) หรือนางแมวป่า (Wild Cats) และ แบบสุนัขเฝ้าบ้าน (Dogs) 2. การกำหนดกลยุทธ์การแข่งขันกับเวลาเพื่อความสาเร็จขององคกร์ (Time Based Strategy :TBS ) เป้าหมายหลักของ TBS เสนอประเด็นที่สาคัญไว้ 6 ประการ คือ - ตอบสนองลูกค้าให้ตรงตามความต้องการในเวลาที่ลูกค้าคาดหวัง - การนำข้อมูลมาใช้ทันกับเวลาที่ต้องการประกอบการทางาน - ทุกฝ่ายงานต้องพยายามสร้างสรรค์บริการงานใหม่หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ - จะต้องสร้างความแตกต่างและหลากหลายทางดานบริการหรือผลิตภัณฑ - จะมีการนำเทคโนโลยีหรือวิธีการทำงานใหม่มาใช้ - จะต้องให้ลูกค้าหรือผู้ใช้บริการติดใจในบริการที่จะตรงและทันความต้องการ 3. กำหนดกลยุทธ์ในการแข่งขันตามแนวคิดของ Porter (Porter’s Generic Competitive Strategies) ได้สร้างกลยุทธ์ใน 3 แบบคือ 3.1 กลยุทธ์ความเป็นผู้นำด้านต้นทุน (Cost Leadership) 3.2 กลยุทธ์ ที่เน้นความแตกต่าง (Differentiation) และความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ การนำกลยุทธ์ไปสู่ปฏิบัติ (Strategic Implementation) 1. การกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน 2. การวางแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ที่ระบุกิจกรรมต่างๆ ที่จะต้องดำเนินการ 3. การปรับปรุง พัฒนาองค์การ เช่น ในด้านโครงสร้าง ระบบงาน ทรัพยากรบุคคล วัฒนธรรมองค์การและ ปัจจัยการบริการต่างๆ ในองค์การ ที่มา : http://phadmin2552.freetzi.com/file/53705/summary/11.pdf | |||||||||||||||
ที่มาของการจัดการความรู้ | |||||||||||||||
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2549
มาตรา 11 ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ ข้อมูลข่าวสาร และสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมต่อสถานที่ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของ | |||||||||||||||
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ | |||||||||||||||
หน่วยงานต้องได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อรับสิ่งจูงใจตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
ความหมาย ของคำว่า "ความรู้ " | |||||||||||||||
ความรู้ คือ สิ่งที่สะสมมาจากการศึกษาเล่าเรียนการค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติ และทักษะ ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ องค์วิชาในแต่ละสาขา | |||||||||||||||
ความรู้ … ในรูปปิรามิด… | |||||||||||||||
….มุมมอง…ของ Dave Snowden | |||||||||||||||
ระดับความรู้ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
ประเภทของความรู้ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
กระบวนการทำให้เกิดความรู้ใหม่ Knowledge Spiral หรือ SECI Model | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
นิยามของการจัดการความรู้ : ข้อเสนอแนะสำหรับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | |||||||||||||||
การจัดการความรู้ (KM)คือ การจัดการในเรื่องที่สำคัญ จำเป็นต่อการดำเนินงานขององค์กรโดยใช้มิติกระบวนการความรู้ เพื่อให้เกิด | |||||||||||||||
แนวทางการจัดการความรู้ของมสธ. | |||||||||||||||
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อาจจัดการความรู้ได้ 2 แนวทาง
| |||||||||||||||
การพัฒนาความรู้ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
องค์ประกอบสำคัญในการสร้างระบบ KM | |||||||||||||||
คน แหล่งความรู้ และเป็นผู้นำความรู้ไปใช้ เทคโนโลยี มีเครื่องมือ ช่วยเก็บ ช่วยในการค้นหา แลกเปลี่ยน นำความรู้ไปใช้ได้โดยง่าย กระบวนการความรู้ เป็นการนำความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ จากผู้ใช้ เพื่อปรับปรุง เชื่อมโยง ต่อยอดเปลี่ยนแปลง หรือเกิดความรู้ใหม่ | |||||||||||||||
ความสำเร็จในการทำ KM | |||||||||||||||
Small Start, Success then Expansion
เริ่มจากเล็กๆ เมื่อประสบความสำเร็จแล้วขยายผล * ที่สุดของที่สุด * ……….. Knowledge is Power …………. | |||||||||||||||
KM ทำให้เกิด ? | |||||||||||||||
แนวทางการกำหนด ขอบเขต และ เป้าหมาย KM | |||||||||||||||
ข้อเสนอแนะขั้นตอนของการจัดการความรู้ ( KM ) | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
องค์กรแห่งการเรียนรู้ ( Learning Organization) | |||||||||||||||
เป็นรูปแบบการบริหารในการพัฒนาองค์กร ให้มีความคิดริเริ่ม (Creative Organization) ความเป็นผู้นำ (Leadership) ความคิดเข้าใจเชิงระบบ (Systems Thinking) การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning) ในการขับเคลื่อนภารกิจให้สำเร็จตามเป้าหมาย การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กรจะต้องมีการปรับเปลี่ยนและค้นหาวิธีการใหม่ๆ ในการดำเนินกิจการ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิผลในการดำเนินงานขององค์กร การที่องค์กรจะสามารถเรียนรู้เพื่อพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิผลนั้น ต้องมีการจัดการความรู้ ควบคู่ไปด้วยเสมอ การจัดการความรู้ที่หน่วยงานต่างๆ ในมหาวิทยาลัย เริ่มทำกันในปี 2549 นี้ ไม่มีผิดมีถูกเพียงแต่ในระยะเริ่มต้นองค์กร ุมุ่งหวังผลทางตรง ตรงกับภารกิจตรงตามเป้าหมายขององค์กร เมื่อได้มีการจัดการความรู้ไปได้ระยะหนึ่ง สิ่งที่ควรจะเกิดขึ้นก็คือ หน่วยงานมีทักษะในการจัดการความรู้เพื่อให้การทำงานมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทุกอย่างถูกกลืนไปในเนื้องานตามปกติ ไม่เป็นการเพิ่มภาระการทำงาน แต่จะเป็นส่วนหนึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งในการทำงาน เมื่อถึงตอนนั้นคงไม่ต้องมาพูดเน้นถึง KM อีกแล้ว KM เป็นเครื่องมือหนึ่งเท่านั้นที่สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาการทำงานในองค์กร เพื่อก้าวไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ | |||||||||||||||
แบบฟอร์มที่ 1 กระบวนงาน แบบฟอร์มที่ 2 การกำหนดขอบเขต แบบฟอร์มที่ 3 แผนการทำ KM | |||||||||||||||
แนวทางการจัดการความรู้ของหน่วยงาน | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
ขบวนการจัดการความรู้ของหน่วยงาน | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
| |||||||||||||||
แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการจัดการความรู้ระดับมหาวิทยาลัย | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
เว็บไซต์การจัดการความรู้ของ มสธ. ยินดีต้อนรับ | Log in | สมัครสมาชิก