หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตอุตสาหกรรม (รหัสวิชาเอก 96124)

 คุณสมบัติของผู้สมัคร
1. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่า ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และ เป็นผู้ประกอบอาชีพอยู่ในภาคอุตสาหกรรม หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องมาไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
2. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า และ เป็นผู้ประกอบอาชีพอยู่ในภาคอุตสาหกรรม หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง หรือ
3. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาทางด้านอุตสาหกรรม และ เป็นผู้ประกอบอาชีพอยู่ในภาคอุตสาหกรรม หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง หรือ
4. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาอื่นที่มิใช่ทางด้านอุตสาหกรรม และ เป็นผู้ประกอบอาชีพอยู่ในภาคอุตสาหกรรม หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง หรือ
5. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า ในทุกสาขาวิชา และ เป็นผู้ประกอบอาชีพอยู่ในภาคอุตสาหกรรม หรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
  รวมทั้งสำเร็จการศึกษานอกระบบ หรือผู้ที่ศึกษาตามอัธยาศัย และได้รับการเทียบโอนผลการศึกษา ซึ่งสภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรรับเข้าศึกษาได้
   

 โครงสร้างหลักสูตร
  1. ผู้มีคุณสมบัติเข้าศึกษาตามข้อ 1 และ 2
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
5 ชุดวิชา 30 หน่วยกิต
ข. หมวดวิชาแกน
2 ชุดวิชา 12 หน่วยกิต
ค. หมวดวิชาเฉพาะ
16 ชุดวิชา 96 หน่วยกิต
ง. หมวดวิชาเลือกเสรี
1 ชุดวิชา 6 หน่วยกิต
รวม
24 ชุดวิชา 144 หน่วยกิต
  2. ผู้มีคุณสมบัติเข้าศึกษาตามข้อ 3
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1 ชุดวิชา 6 หน่วยกิต
ข. หมวดวิชาแกน
2 ชุดวิชา 12 หน่วยกิต
ค. หมวดวิชาเฉพาะ
12 ชุดวิชา 72 หน่วยกิต
รวม
15 ชุดวิชา 90 หน่วยกิต
  3. ผู้มีคุณสมบัติเข้าศึกษาตามข้อ 4 และ 5
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1 ชุดวิชา 6 หน่วยกิต
ข. หมวดวิชาแกน
2 ชุดวิชา 12 หน่วยกิต
ค. หมวดวิชาเฉพาะ
15 ชุดวิชา 90 หน่วยกิต
รวม
18 ชุดวิชา 108 หน่วยกิต
 
รายละเอียดของหลักสูตร
  1. ผู้มีคุณสมบัติเข้าศึกษาตามข้อ 1 และ 2 (ม.3 ม.6 ปวช. หรือเทียบเท่า)
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
5 ชุดวิชา 30 หน่วยกิต
10103 ทักษะชีวิต

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ข. หมวดวิชาแกน
2 ชุดวิชา 12 หน่วยกิต
96101 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

96102 คณิตศาสตร์และสถิติสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค. หมวดวิชาเฉพาะ
16 ชุดวิชา 96 หน่วยกิต
    บังคับ 12 ชุดวิชา
97210 คณิตศาสตร์ประยุกต์สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

97211 กลศาสตร์สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

97212 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์ในอุตสาหกรรม

97213 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและเทคนิคการผลิต

97314 เทคโนโลยีการวางแผนและการควบคุมทางการผลิตในอุตสาหกรรม

97315 เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุ และการบำรุงรักษาในอุตสาหกรรม *

97316 เทคโนโลยีในการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม *

97317 ระบบสารสนเทศและระบบอัตโนมัติทางการผลิตในอุตสาหกรรม

97418 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรม

97419 มาตรฐานการจัดการอุตสาหกรรมและมาตรฐานอุตสาหกรรม

97420 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรม

97421 ประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการผลิตอุตสาหกรรม **

    และเลือก 4 ชุดวิชา โดยเน้นเฉพาะกลุ่มชุดวิชาใดกลุ่มชุดวิชาหนึ่ง หรือถ้าไม่เน้นเฉพาะกลุ่มนักศึกษาสามารถเลือกชุดวิชาคละกันได้ในกลุ่มชุดวิชาที่ต่างกัน ดังต่อไปนี้
    1) กลุ่มเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการในอุตสาหกรรมทั่วไป
97422 การศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์แนวโน้มทางอุตสาหกรรม

97423 การวางผังโรงงานและการศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม

97424 กลยุทธ์การจัดการระบบปฏิบัติการในอุตสาหกรรม

97425 การวิจัยและการสัมมนาทางเทคโนโลยีการผลิตอุตสาหกรรม

    2) กลุ่มเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการในอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป
97326 อุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูปเบื้องต้น

97427 การแปรรูปอาหารและเกษตรแปรรูป

97428 การจัดการอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป

97429 การประกันคุณภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเกษตรแปรรูป

97430 การจัดการธุรกิจอุตสาหกรรมสิ่งทอ

    3) กลุ่มเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการในอุตสาหกรรมการพิมพ์
97101 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์

97301 วัสดุทางการพิมพ์

97402 การออกแบบทางการพิมพ์

97407 การจัดการทางการผลิตและการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์

97410 การจัดการธุรกิจการพิมพ์

    4) กลุ่มการจัดการธุรกิจอุตสาหกรรม
30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

30204 องค์การและการจัดการ

32401 การวางแผนและควบคุมงานบริหาร

32442 การจัดการเชิงกลยุทธ์

    5) กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
96304 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

96305 เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานธุรกิจด้านพณิชยกรรม

96404 การตรวจสอบระบบงานคอมพิวเตอร์และการควบคุมภายใน

96405 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจ

96407 การพัฒนาระบบสารสนเทศ

96410 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการบัญชีและการบัญชีเพื่อการจัดการ

96411 ระบบสารสนเทศและการจัดการความรู้

96412 การบริหารโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ


ง. หมวดวิชาเลือกเสรี
1 ชุดวิชา 6 หน่วยกิต
เลือกศึกษาได้จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย ยกเว้นชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
ก. ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา
ข. ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่น ๆ ในหลักสูตรที่เรียน
ค. ชุดวิชาที่มีการกำหนดคุณสมบัติและทักษะพื้นฐานไว้โดยเฉพาะ
  2. ผู้มีคุณสมบัติเข้าศึกษาตามข้อ 3 (ปวส. หรืออนุปริญญา หรือ ปวท. หรือเทียบเท่าทางด้านอุตสาหกรรม)
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1 ชุดวิชา 6 หน่วยกิต
10151 ไทยศึกษา

ข. หมวดวิชาแกน
2 ชุดวิชา 12 หน่วยกิต
96101 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

96102 คณิตศาสตร์และสถิติสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค. หมวดวิชาเฉพาะ
12 ชุดวิชา 72 หน่วยกิต
97210 คณิตศาสตร์ประยุกต์สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

97211 กลศาสตร์สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

97212 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์ในอุตสาหกรรม

97213 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและเทคนิคการผลิต

97314 เทคโนโลยีการวางแผนและการควบคุมทางการผลิตในอุตสาหกรรม

97315 เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุ และการบำรุงรักษาในอุตสาหกรรม *

97316 เทคโนโลยีในการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม *

97317 ระบบสารสนเทศและระบบอัตโนมัติทางการผลิตในอุตสาหกรรม

97418 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรม

97419 มาตรฐานการจัดการอุตสาหกรรมและมาตรฐานอุตสาหกรรม

97420 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรม

97421 ประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการผลิตอุตสาหกรรม **

  3. ผู้มีคุณสมบัติเข้าศึกษาตามข้อ 4 และ 5 (ปวส. หรืออนุปริญญา หรือ ปวท. หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าที่ไม่ใช่ทางด้านอุตสาหกรรม)
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1 ชุดวิชา 6 หน่วยกิต
10151 ไทยศึกษา

ข. หมวดวิชาแกน
2 ชุดวิชา 12 หน่วยกิต
96101 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

96102 คณิตศาสตร์และสถิติสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค. หมวดวิชาเฉพาะ
15 ชุดวิชา 90 หน่วยกิต
    บังคับ 12 ชุดวิชา
97210 คณิตศาสตร์ประยุกต์สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

97211 กลศาสตร์สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

97212 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์ในอุตสาหกรรม

97213 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและเทคนิคการผลิต

97314 เทคโนโลยีการวางแผนและการควบคุมทางการผลิตในอุตสาหกรรม

97315 เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุ และการบำรุงรักษาในอุตสาหกรรม *

97316 เทคโนโลยีในการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม *

97317 ระบบสารสนเทศและระบบอัตโนมัติทางการผลิตในอุตสาหกรรม

97418 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรม

97419 มาตรฐานการจัดการอุตสาหกรรมและมาตรฐานอุตสาหกรรม

97420 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรม

97421 ประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการผลิตอุตสาหกรรม **

    และเลือก 3 ชุดวิชา โดยเน้นเฉพาะกลุ่มชุดวิชาใดกลุ่มชุดวิชาหนึ่ง หรือถ้าไม่เน้นเฉพาะกลุ่มนักศึกษาสามารถเลือกชุดวิชาคละกันได้ในกลุ่มชุดวิชาที่ต่างกัน ดังต่อไปนี้
    1) กลุ่มเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการในอุตสาหกรรมทั่วไป
97422 การศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์แนวโน้มทางอุตสาหกรรม

97423 การวางผังโรงงานและการศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม

97424 กลยุทธ์การจัดการระบบปฏิบัติการในอุตสาหกรรม

97425 การวิจัยและการสัมมนาทางเทคโนโลยีการผลิตอุตสาหกรรม

    2) กลุ่มเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการในอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป
97326 อุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูปเบื้องต้น

97427 การแปรรูปอาหารและเกษตรแปรรูป

97428 การจัดการอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป

97429 การประกันคุณภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเกษตรแปรรูป

97430 การจัดการธุรกิจอุตสาหกรรมสิ่งทอ

    3) กลุ่มเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการในอุตสาหกรรมการพิมพ์
97101 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์

97301 วัสดุทางการพิมพ์

97402 การออกแบบทางการพิมพ์

97407 การจัดการทางการผลิตและการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์

97410 การจัดการธุรกิจการพิมพ์

    4) กลุ่มการจัดการธุรกิจอุตสาหกรรม
30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

30204 องค์การและการจัดการ

32401 การวางแผนและควบคุมงานบริหาร

32442 การจัดการเชิงกลยุทธ์

    5) กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
96304 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

96305 เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานธุรกิจด้านพณิชยกรรม

96404 การตรวจสอบระบบงานคอมพิวเตอร์และการควบคุมภายใน

96405 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจ

96407 การพัฒนาระบบสารสนเทศ

96410 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการบัญชีและการบัญชีเพื่อการจัดการ

96411 ระบบสารสนเทศและการจัดการความรู้

96412 การบริหารโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ


หมายเหตุ * เป็นชุดวิชาที่มีการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ
** ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการพิมพ์เป็นชุดวิชาที่นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาที่เหลือ 1-3 ชุดวิชาสุดท้ายก่อนจบการศึกษาเท่านั้น

คำอธิบายชุดวิชา
10103 ทักษะชีวิต
ทักษะในการดำเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่ ความใฝ่รู้ การแสวงหาและพัฒนาความรู้ใหม่ ความสามารถในด้านการจัดการ การใช้เทคโนโลยี การใช้เหตุผล การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การเจรจาต่อรอง การประนีประนอม การขจัดความเครียด คุณธรรม จริยธรรม มนุษยสัมพันธ์ มารยาท และการสมาคม
 
10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
โครงสร้าง ศัพท์ และสำนวนภาษาอังกฤษที่ใช้ในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 
10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
แนวคิด ทฤษฎี ความคิดเชิงวิเคราะห์ กฎเกณฑ์และพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ธรรมชาติวิทยาที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัยและโภชนาการ การประยุกต์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต
 
10151 ไทยศึกษา
ความเป็นมาของวัฒนธรรมไทย การตั้งถิ่นฐาน การรับวัฒนธรรมจากภายนอก และการประยุกต์ผสมผสาน การจัดระเบียบสังคม การเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม ศาสนาและพิธีกรรม ภาษาและวรรณคดี ศิลปกรรม
 
10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร บทบาทหน้าที่ของภาษาในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับภาษา หลักการใช้ภาษาในการสื่อสารทั้งในด้านทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน การพัฒนาทักษะภาษาเพื่อการสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
 
96101 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับส่วนประกอบที่สำคัญและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ หลักการใช้เลขรหัสแบบต่าง ๆ ลักษณะของข้อมูลและแฟ้มข้อมูล ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์และซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ชนิดต่าง ๆ หลักการประมวลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการประมวลผล การกำหนดกระบวนการประมวลผล และการออกแบบวิธีปฏิบัติการของระบบงาน การใช้คอมพิวเตอร์ทำงานในธุรกิจ งานวางแผนและตัดสินใจ และการใช้คอมพิวเตอร์ทำงานในสำนักงาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรม ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมสำเร็จรูป การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อบริหารฐานข้อมูลและการจัดทำตารางตัวเลข
 
96102 คณิตศาสตร์และสถิติสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เซต ตรรกศาสตร์ การจัดลำดับและการจัดหมู่ ระบบจำนวน เวกเตอร์ เมตริกซ์ ดีเทอร์มิแนนท์และการประยุกต์ ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม การดิฟเฟอเรนชิเอต การอินทิเกรตการดิฟเฟอเรนชิเอตและการอินทิเกรตฟังก์ชันตรีโกณ การประยุกต์เรื่องอนุพันธ์ สมการดิฟเฟอเรนเชียล และสมการดิฟเฟอเรนซ์ อนุพันธ์ย่อยและการอินทิเกรตหลายชั้น เรื่องทั่วไปเกี่ยวกับสถิติและสถิติพรรณนา การแจกแจงความน่าจะเป็น การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน ไคสแควร์ และวิธีการนอนพาราเมตริก การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์การถดถอย สหสัมพันธ์ และอนุกรมเวลา การตัดสินใจ ภายใต้สภาวการณ์ไม่แน่นอน