
v ปี 2562
อภิญญา วนเศรษฐ. (2562). แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ:
กรณีการท่องเที่ยวชมหิ่งห้อย อ. อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน
ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
v ปี 2561
อภิญญา วนเศรษฐ. (2561). บทบาทการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน
ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
อภิญญา วนเศรษฐ. (2561). เกษตรพันธะสัญญาในรูปแบบสหกรณ์เพื่อความมั่นคงทางรายได้ของเกษตรกรรายย่อย ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน
ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
v ปี 2560
Nabangchang, O., Limthong, P., Srisawaluck, E., Ngamsom, W., Jarungrattanapong, R. and Buddhawongsa, P. (2017). Economics,
Institutions,
and Legal Aspect of Land Degradation Problem in Southeast Asia:
Gap analysis towards a Land Degradation Neutral World.
Final report. Economy and Environment Program for Southeast Asia:
2017.
อภิญญา วนเศรษฐ. (2560). การคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม : กรณีศึกษาพื้นที่การปลูกทุเรียน จังหวัดนนทบุรี ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน
ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (Download)
v ปี 2559
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2559). หัวหน้าโครงการวิจัย
เรื่อง การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารและอาหารแปรรูปของสินค้าสุดยอด หนึ่งตำบล
หนึ่งผลิตภัณฑ์
ระดับ 5 ดาว และระดับ 4 ดาว ในจังหวัดราชบุรี
พัชรี ผาสุข. (2559). ศักยภาพ บทเรียน
นัยยะเพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย ทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (งบแผ่นดิน)
Srisuksai, P. (2016). Efficiency and Effectiveness of the Thailand
Village Fund : Evidence from Maehongson, Kalasin and Samutsongkhram province,
funded by Institute for Research and Development, Sukhothai Thammathirat Open
University, 2016.
Srisuksai, P. (2016). The well-being Indication Comparison of
People in Three Southern Border Provinces and People in Eastern of Thailand,
funded by The Office of National Research Council of Thailand, 2016.
พิทักษ์ ศรีสุขใส. (2559). การประเมินหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เรวดี จรุงรัตนาพงศ์ และวรวรรณ ชาญด้วยวิทย์. (2559). กลไกการส่งเสริมความยั่งยืนของกองทุนสวัสดิการชุมชน โดยเสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย: 2559.
jarungrattanapong,
R., Mahasuweerachai, P. and Nabangchang, O. (2016). Payment for Ecosystem Services
for Thailand and
Lao PDR. EEPSEA SRG Report No. 2016-SRG3. Economy and
Environment Program for Southeast Asia, Laguna,
Philippines: 2016. (Download)
อภิญญา วนเศรษฐ. (2559). การเปิดเสรีทางการเงินกับการพัฒนาเศรษฐกิจ:
แนวทางที่เหมาะสมในประเทศไทย ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก งบประมาณแผ่นดิน
ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
v ปี 2558
พัชรี ผาสุข. (2558).
ประสิทธิภาพการสืบพันธุ์และผลลัพธ์ทางเศรษฐศาสตร์ของการใช้โปรแกรมการเหนี่ยวนำการเป็นสัดโคนม ทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (งบแผ่นดิน).
พัชรี
ผาสุข. (2558). แบบจำลองการส่งผ่านราคาสินค้าจีนต่อราคาสินค้าไทย กรณีศึกษา:
การค้าชายแดนระหว่างด่านท่าเสด็จ อ.เมืองหนองคาย ประเทศไทย
และด่านท่าเดื่อ
นครหลวง เวียงจันทน์ สปป. ลาว
(กำลังดำเนินการ)
ทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (งบแผ่นดิน).
พิทักษ์ ศรีสุขใส. (2015). The significance of the disparity of
interest rate on exchange rate, funded by The Office of National Research
Council of Thailand.
พิทักษ์ ศรีสุขใส. (2015). The Rubber Pricing Model and its
Application to Rubber Farmer, funded by The Office of National Research
Council
of Thailand.
มนูญ โต๊ะยามา, สมบัติ พันธวิศิษฏ์, อภิญญา วนเศรษฐ และรัชนี โตอาจ. (2558). ชุมชนกับการจัดการอุทกภัยธรรมชาติ:
กรณีศึกษาชุมชนลุ่มน้ำเจ้าพระยาและท่าจีน
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (Download)
พอพันธ์ อุยยานนท์, อภิญญา วนเศรษฐ และรัชนี โตอาจ. (2558). เกษตรพันธะสัญญากับความมั่นคงทางรายได้ของเกษตรกร:
กรณีการเลี้ยงไก่และหมูในเขตภาคกลาง
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน
ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (Download)
v ปี 2557
เฉลิมพล จตุพร. (2557).
การวิเคราะห์ผลกระทบตัวแปรเชิงมหภาคต่อสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย.
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการภายใต้ข้อเสนองานนวัตกรรม
ของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
Jarungrattanapong, R. and Boonmanunt, S. (2014). Altruism, Trust and Cooperation:
Other-regarding Behavior and Cooperative activities
in Thailand, Economy and Environment Program for
Southeast Asia, Laguna, Philippines: 2014.
อภิญญา วนเศรษฐ. (2557). การศึกษานโยบายและมาตรการรักษาเสถียรภาพราคายางพาราของประเทศไทยด้วยกองทุนรักษาเสถียรภาพราคาและแนวทาง
ที่เหมาะสมในการจัดตั้ง
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (Download)
ศิริพร สัจจานันท์, พอพันธ์ อุยยานนท์, อภิญญา วนเศรษฐ และปภาศรี บัวสวรรค์. (2557). การคุ้มครองแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย: กรณีศึกษา จ.นนทบุรี
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (Download)
v ปี 2556
พิทักษ์ ศรีสุขใส. (2013). The Factors Affect on Mechanism of
Thai Rice Pricing in 2013. funded by The Office of National Research Council of
Thailand.
อภิญญา วนเศรษฐ. (2556). โครงการศึกษาค่าธรรมเนียมป้อนไฟและส่วนเพิ่มการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังน้ำ
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
v ปี 2555
พิทักษ์ ศรีสุขใส. (2555). การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนชุดวิชา
60424 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อภิญญา วนเศรษฐ. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนและราคา ภายใต้กรอบทฤษฎีความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ: กรณีประเทศไทย
และประเทศคู่ค้าที่สำคัญ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (Download)
v ปี 2554
พอพันธ์ อุยยานนท์. (2554). ปัญหารากเหง้าของความขัดแย้งและแนวทางสู่ความปรองดอง:
โครงสร้างอำนาจที่ไม่เท่าเทียมกันในสังคมไทย
ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ
(คอป). ในฐานะ นักวิจัย
(โดยมี ศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
เป็นหัวหน้าโครงการ) พ.ศ.2554.
พอพันธ์ อุยยานนท์. (2554). การบริหารจัดการรายได้จากการพนัน: ศึกษากรณี สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น
และสหรัฐอเมริกา ได้รับทุน สนับสนุนจากมูลนิธิ
สดศรีสฤษดิ์วงศ์ ในฐานะนักวิจัย (โดยมี ดร.ธีรารัตน์พันทวี เป็นหัวหน้าโครงการ)
พ.ศ.2554.
พัชรี
ผาสุข. (2554). การศึกษาห่วงโซ่อุปทานมันสำปะหลัง ในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์
แหล่งเงินทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ปี 2554.
พิทักษ์ ศรีสุขใส. (2554). Obesity
with Optimal Health Investment and Intervention, funded by The Office of
National Research
Council of Thailand, 2011-2012.
พิทักษ์ ศรีสุขใส. (2554). Asset
Pricing Model with Stock Market Liquidity, funded by Institute for Research and
Development,
Sukhothai Thammathirat Open University, 2011.
Jarungrattanapong, R. and Manasboonphempool, A. (2011). Adaptive Capacity of Households and Institutions
in Dealing
with Floods in Chiang Mai, Thailand, Economy and Environment Program for Southeast
Asia, Singapore: 2011.
Hermi D. Francisco, C.D. Predo, Areeya Manasboonphempool, P. Tran, Rawadee Jarungrattanapong, B.D. The, L. Pealba,
N.P. Tuyen, T.H. Tuan, D. Elazegui, Y. Shen, and Z. Zhu. (2011). Determinants of household decisions on adaptation
to extreme climate events in Southeast Asia, Economy and
Environment Program for Southeast Asia, Laguna,
Philippines: 2011.
อภิญญา วนเศรษฐ. (2554). โครงการการศึกษาการจ่ายค่าทดแทนการรอนสิทธิ์ในทรัพย์สินของประชาชนจากระบบโครงข่ายพลังงาน ได้รับทุนสนับสนุนการ
วิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน.
อรพรรณ ณ บางช้าง, อัจฉรี ชไตน์มึลเลอร์, เรวดี
จรุงรัตนาพงศ์ และกัญญา สุทัศน์. (2554). องค์ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
เสนอต่อ สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ: 2554. (Download)
v ปี 2553
รัชนี
โตอาจ. (2553). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการสร้างความยั่งยืนของงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาพื้นเมือง
: กรณีบ้านเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนรัตนโกสินทร์สมโภช 200 ปี (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2553. (Download)
v ปี 2552
พอพันธ์ อุยยานนท์. (2552). เกษตรพันธะสัญญา:
ผลตอบแทน ความเสี่ยง และ ความเป็นธรรม” ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.) (ในฐานะผู้จัดการโครงการ) พ.ศ.2552.
พัชรี
ผาสุข. (2552). โครงการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว
จ. อุดรธานี จ.หนองคาย และ จ. เลย แหล่งเงินทุน:
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
และ อบจ. อุดรธานี ปี 2552.
พัชรี
ผาสุข. (2552). โครงการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว
อ. หนองหาน – อ. กุมภวาปี จ. อุดรธานี แหล่งเงินทุน: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
และ
อบจ. อุดรธานี ปี 2552.
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, เบญวรรณ ฤกษ์เกษม, กอบกุล รายะนาคร, ยุวดี คาดการณ์ไกล, กฤติยาพร วงษา, พรเพ็ญ วิจักษณ์ประเสริฐ และ เรวดี จรุงรัตนาพงศ์. (2552).
โครงการจัดทำแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ. เสนอต่อ
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ: 2552.
v ปี 2551
พัชรี ผาสุข (2551). การศึกษาหาทำเลที่ตั้งศูนย์การกระจายสินค้าที่เหมาะสมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
เพื่อการบริหารระบบโลจิสติกส์ให้มี
ประสิทธิภาพสูงสุดของอุตสาหกรรมยางพารา: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(สกอ.).
พัชรี
ผาสุข. (2551). โครงการศึกษาเปรียบเทียบการค้าชายแดน
กรณีศึกษา: ด่านหนองคาย ด่านช่องเม็ก และด่านนครพนม แหล่งเงินทุน:
สถาบันยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
v ปี 2550
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2550). หัวหน้าโครงการวิจัย
เรื่อง การติดตามบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ เสนอมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พัชรี ผาสุข. (2550). การวิเคราะห์อำนาจทางการตลาดของพ่อค้าคนกลางในตลาดยางพารา
กรณีศึกษาตลาดยางพารา จังหวัดอุดรธานี
และจังหวัดหนองคาย
แหล่งเงินทุน: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.) ปี 2550. (Download)
Jarungrattanapong, R. and Manasboonphempool, A. (2007). Adaptation
strategies for coastal erosion: A case study of the communities
in Bang Khun Thian,
Bangkok, Economy and Enviornment Program for Southeast Asia, Singapore: 2007.
v ปี 2549
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2549). หัวหน้าโครงการวิจัย
เรื่อง การติดตามมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ เสนอมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อภิชิต
รัตนโกเมศ, พัชรี ผาสุข, พัชฎาภรณ์ แสงทามาต และสามารถ ปิติพัฒน์. (2549).
การนำระบบการจัดการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานมาใช้กับ
ผู้ประกอบการ
OTOP ของจังหวัดอุดรธานี ทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, วราภรณ์ ปัญญาดี, อัจฉรี ชไตน์มึลเลอร์, ทิพวัลย์ แก้วมีศรี, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์, ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ, พิศสม มีถม,
วินัย สืบแสง และธัญวรรณ เหมพนม. (2549). โครงการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. เสนอต่อ
มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ สนับสนุนโดย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กรุงเทพฯ: 2549.
Israngkura, A., Steinmueller, A. and Jarungrattanapong, R. (2006). Prioritizing Environmental Problems with
Environmental Costs,
National Health Foundation
and Thailand Development Research Institute, Bangkok: 2006.
v ปี 2548
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2548). โครงการวิจัย
เรื่อง การติดตามมหาบัณฑิตเศรษฐศาสตร์
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นักวิจัย เสนอ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2548). โครงการวิจัย
เรื่อง โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตรระดับปริญญาโท
แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นักวิจัย
เสนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
v ปี 2547
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2547). โครงการวิจัย
เรื่อง โครงการศึกษานโยบายและมาตรการการค้าเชิงรุก
กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง นักวิจัย เสนอ กระทรวงพาณิชย์.
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2547). โครงการวิจัย
เรื่อง การประเมินหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นักวิจัย เสนอ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2547). โครงการย่อย
: ผลิตภัณฑ์อาหารสมุนไพรไทยในเชิงเศรษฐกิจ ในโครงการวิจัย
เรื่องภูมิปัญญาไทยในมิติอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
นักวิจัย เสนอ
สถาบันวิจัยและพัฒนา.
อัจฉรี ชไตน์มึลเลอร์, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์ และปนัดดา กัลปพฤกษ์. (2547). ยุทธศาสตร์และแนวทางในการเตรียมความพร้อมของภาคอุตสาหกรรมไทย
อันเนื่องมาจากการเจรจา
WTO รอบใหม่ที่กรุงโดฮา: สิ่งแวดล้อม. เสนอต่อ
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
กรุงเทพฯ: 2547. (Download)
อัจฉรี ชไตน์มึลเลอร์, อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ, พิศสม มีถม, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์ และวินัย สืบแสง. (2547). รายงานสถานการณ์
คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2547. เสนอต่อ
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ: 2547.
v ปี 2546
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2546). โครงการวิจัย
เรื่อง การประเมินหลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สำหรับนักบริหารระดับสูง
รุ่นที่ 1 ของสถาบันพระปกเกล้า
นักวิจัย
เสนอ สถาบันพระปกเกล้า.
พอพันธ์ อุยยานนท์. (2546). เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านไทยภาคกลาง
พ.ศ. 2488-2545 ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านไทย โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
เป็นหัวหน้าชุดโครงการ.
อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา,
จักรพันธ์ สุทธิรัตน์, ยุวดี คาดการณ์ไกล, ฉันทนา ผดุงทศ, สมชาย หาญหิรัญ, อุดมศักดิ์ ศีลประชาวงศ์, อุดมศักดิ์ ศีลประชาวงศ์,
ทิพวัลย์ แก้วมีศรี, ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ, พิศสม มีถม และเรวดี จรุงรัตนาพงศ์. (2546). การจัดทำแผนแม่บททางด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม
และการฟื้นฟูที่ทำเหมืองเพื่อการพัฒนาทรัพยากรธรณีในเขตเศรษฐกิจแร่ตะกั่ว
จังหวัดกาญจนบุรี. เสนอต่อ
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
กระทรวงอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ: 2546. (Download)
v ปี 2545
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, อัจฉรี ศัสตรศาสตร์, อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, ทิพวัลย์ แก้วมีศรี, สมบัติ แซ่แฮ, พิศสม มีถม, ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ,
ผการัตน์ เพ็งสวัสดิ์, พรเพ็ญ วิจักษณ์ประเสริฐ และเรวดี จรุงรัตนาพงศ์. (2545). รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม ปี
พ.ศ. 2544.
เสนอต่อ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : 2545.
อัจฉรี ศัสตรศาสตร์, มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, พรเพ็ญ วิจักษณ์ประเสริฐ, ทิพวัลย์ แก้วมีศรี, สมบัติ แซ่แฮ, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์,
พิศสม มีถม, ผการัตน์ เพ็งสวัสดิ์ และปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ. (2545). รายงานการศึกษารูปแบบการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก. เสนอต่อ
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรุงเทพฯ: 2545.
v ปี 2544
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2544). โครงการวิจัย เรื่อง
การติดตามบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หลักสูตรเศรษฐศาสตร-บัณฑิต นักวิจัยเสนอ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นิมิตชัย สนิทพันธุ์, ยงยุทธ แฉล้มวงษ์, ณรงค์ ป้อมหลักทอง, อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา และเรวดี จรุงรัตนาพงศ์. (2544). แผนแม่บทการจรจร ปี พ.ศ. 2545
- 2549
เสนอต่อ
สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม กรุงเทพฯ: 2544.
v ปี 2543
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, จิราภรณ์ แผลงประพันธ์, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์, ชณัฐฐา อยู่เสนาสน์, ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ, พิศสม มีถม, สมบัติ แซ่แฮ
และสมเกียรติ เรืองจันทร์. (2543). ผลกระทบทางสังคมจากวิกฤติทางการเงินของเอเชีย. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย กรุงเทพฯ: 2543.
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, จิราภรณ์ แผลงประพันธ์, พรเพ็ญ วิจักษณ์ประเสริฐ, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์, ชณัฐฐา อยู่เสนาสน์, ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ,
พิศสม มีถม, สมบัติ แซ่แฮ และสมเกียรติ เรืองจันทร์. (2543). รายงานการศึกษาการประเมินผลกระทบในเชิงคุณภาพด้วยกระบวนการ
มีส่วนร่วมต่อผลกระทบทางสังคมของวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศไทย
ภายใต้โครงการลงทุนเพื่อสังคม. เสนอต่อ
สำนักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรุงเทพฯ: 2543.
อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, เรณู สุขารมณ์, โสมสกาว เพชรานนท์, ชณัฐฐา อยู่เสนาสน์, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์ และผการัตน์ เพ็งสวัสดิ์. (2543). การพัฒนา
เครื่องมือเพื่อประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม. เสนอต่อ
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: 2543.
v ปี 2542
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2542). โครงการวิจัย
เรื่อง การปรับตัวเพื่อการแข่งขันภายใต้องค์การการค้าโลก นักวิจัย เสนอ
หอการค้าไทย.
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, วราภรณ์ ปัญญาดี, สาธิต จรรยาสวัสดิ์, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์, ทิพวัลย์ แก้วมีศรี และจักรี จักรีฐาจะวรี. (2542). โครงการจัดอันดับความสำคัญ
ของปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย ดร. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย กรุงเทพฯ: 2542.
v ปี 2541
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, จิราภรณ์ แผลงประพันธ์, ชณัฐฐา อยู่เสนาสน์, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์ และทิพวัลย์ แก้วมีศรี. (2541). ลักษณะการกระจายภาระและประโยชน์
ด้านการคลัง
และภาระภาษีอากรในประเทศไทย เสนอต่อ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
กระทรวงการคลัง กรุงเทพฯ: 2541.
v ปี 2540
พอพันธ์ อุยยานนท์. (2540). สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับเศรษฐกิจไทย
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย
(สกว.)
เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเจ้าของธุรกิจในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจ
ปี พ.ศ.2540 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร
เป็นหัวหน้าชุดโครงการ.
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, เกียรติ จิวะกุล, จามรี เชียงทอง, พรเพ็ญ วิจักษณ์ประเสริฐ, อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, จิราภรณ์ แผลงประพันธ์,
เรวดี จรุงรัตนาพงศ์ และปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ. (2540). การศึกษาเพื่อจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศ. เสนอต่อ
การท่องเที่ยว
แห่งประเทศไทย. มีนาคม. กรุงเทพฯ: 2540. (Download)
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, สุนีย์ บุษยวิทย์, สมบัติ แซ่แฮ, จุฬารัตน์ ศิริสุขีประดิษฐ์, เรวดี จรุงรัตนาพงศ์ และปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ. (2540). แผนแม่บทอุตสาหกรรม ภาค 2.
เสนอต่อ
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ: 2540.