กลับหน้าแรก มสธ.
| STOU | Home |
Administrator
หน้าหลักโครงสร้างหลักสูตร
ประจำปีการศึกษา 2549

| กระดานถาม-ตอบหลักสูตรคำถามถามบ่อย FAQs | ติดต่อสอบถาม |

โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาศึกษาศาสตร์
โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาศึกษาศาสตร์

ศึกษาศาสตร์

             - ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

 

ระดับหลักสูตร

          - แขนงวิชาการแนะแนว

          - แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ 

          - แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา

          - แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

ชื่อหลักสูตรและชื่อปริญญา
 
1.       หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต   แขนงวิชาการแนะแนว

Bachelor of  Education Program in Guidance

      ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม
ศึกษาศาสตรบัณฑิต  (การแนะแนว)
อักษรย่อ
ศษ..  (การแนะแนว)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor of  Education (Guidance)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
B.Ed. (Guidance)

2.       หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ

Bachelor of  Education Program in Non-formal Education

      ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม

ศึกษาศาสตรบัณฑิต   (การศึกษานอกระบบ)

อักษรย่อ

ศษ..  (การศึกษานอกระบบ)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
Bachelor of  Education (Non-formal Education)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ
B.Ed. (Non-formal Education)

3.       หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา

Bachelor of  Education Program in Educational Measurement and Evaluation

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

ศึกษาศาสตรบัณฑิต  (การวัดและประเมินผลการศึกษา)

อักษรย่อ

ศษ..  (การวัดและประเมินผลการศึกษา)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor of  Education (Educational Measurement and

Evaluation)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ed. (Educational Measurement and Evaluation)

4.       หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Bachelor of  Education Program in Educational Technology and Communications

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

ศึกษาศาสตรบัณฑิต  (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)

อักษรย่อ

ศษ.. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ

Bachelor of  Education (Educational Technology  and     

Communications)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ

B.Ed. (Educational Technology and Communications)

 

 

คุณสมบัติของผู้สมัคร

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)  

แขนงวิชาการแนะแนว 

คุณสมบัติเฉพาะ

            เป็นครูประจำการหรือบุคลากรที่ทำหน้าที่สอน  อบรม  เผยแพร่ความรู้  แนะแนวหรือให้บริการทางการศึกษา

วุฒิการศึกษา

            สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูง  (.กศ.สูง)  หรืออนุปริญญา  หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่า

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)  

แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ 

คุณสมบัติเฉพาะ

            เป็นบุคลากรประจำการหรือบุคคลทั่วไปที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสอน  การอบรม  เผยแพร่ความรู้หรือให้บริการทางการศึกษา  การพัฒนาชุมชน  และ/หรือการฝึกอบรมในรูปแบบต่างๆ

วุฒิการศึกษา

            สำเร็จการศึกษาในระดับอนุปริญญา  หรือเทียบเท่า  หรือสูงกว่าในสาขาใดก็ได้

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)  

แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา 

คุณสมบัติเฉพาะ

            เป็นครูประจำการหรือบุคลากรที่ทำหน้าที่สอน  การอบรม  เผยแพร่ความรู้  แนะแนวหรือให้บริการทาง

การศึกษา  

วุฒิการศึกษา

            สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูง (.กศ.สูง)  หรืออนุปริญญา  หรือเทียบเท่า  หรือสูงกว่า

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)  

แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 

คุณสมบัติเฉพาะ

            เป็นครูหรือบุคลากรประจำการที่ทำหน้าที่สอน  อบรม  เผยแพร่ความรู้  แนะแนวหรือให้บริการทางการศึกษา

วุฒิการศึกษา

            สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง  (ปก..สูง)  หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่าหรือวุฒิอื่นที่สูงกว่า

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)  

แขนงวิชาการแนะแนว   

สำหรับผู้มีวุฒิทางการศึกษา (ผู้จบ ป.กศ.สูง หรือ  ..  หรือเทียบเท่า)  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                     1  ชุดวิชา            (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                                4  ชุดวิชา           (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                            7  ชุดวิชา           (42  หน่วยกิต)

           โดยแบ่งเป็น

           1)  ชุดวิชาบังคับ                5  ชุดวิชา           (30  หน่วยกิต)

           2)  ชุดวิชาเลือก                2  ชุดวิชา           (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12  ชุดวิชา หรือ 72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาชีพ   4   ชุดวิชา

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา  

20302 สถิติ วิจัย และการประเมินผลการศึกษา     

23304 โรงเรียนกับชุมชน        

25301 จิตวิทยาและสังคมวิทยาพื้นฐานเพื่อการแนะแนว     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   7   ชุดวิชา

บังคับ  5  ชุดวิชา       

25302 หลักและระบบงานแนะแนวในสถานศึกษา  

25303 การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต       

25405 เทคนิคการปรึกษาเบื้องต้น         

25406 กิจกรรมและเครื่องมือแนะแนว    

25407 ประสบการณ์วิชาชีพการแนะแนว 

และเลือก  2  ชุดวิชาจากกลุ่มวิชาการแนะแนวในระดับประถมศึกษาหรือการแนะแนวในระดับมัธยมศึกษาเพียงกลุ่มเดียว

กลุ่มวิชาการแนะแนวในระดับประถมศึกษา           

21201 พฤติกรรมวัยเด็ก          

25304 การแนะแนวในระดับประถมศึกษา            

กลุ่มวิชาการแนวแนวในระดับมัธยมศึกษา            

22304 การแนะแนวในระดับมัธยมศึกษา

22305 พฤติกรรมวัยรุ่น           

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาการแนะแนว  

สำหรับผู้ไม่มีวุฒิทางการศึกษา (ผู้จบ ปวส.  หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญา หรือสูงกว่า)   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                     1  ชุดวิชา              (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                                7  ชุดวิชา           (42  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                            7  ชุดวิชา           (42  หน่วยกิต)

           โดยแบ่งเป็น

           1)  ชุดวิชาบังคับ                5  ชุดวิชา           (30  หน่วยกิต)

           2)  ชุดวิชาเลือก                2  ชุดวิชา           (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  15  ชุดวิชา หรือ  90   หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาชีพ   7   ชุดวิชา

20101 พื้นฐานการศึกษา

20201 พัฒนศึกษา

20202 วิทยาการการสอน

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา  

20302 สถิติ  วิจัย และการประเมินผลการศึกษา    

23304 โรงเรียนกับชุมชน        

25301 จิตวิทยาและสังคมวิทยาพื้นฐานเพื่อการแนะแนว     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   7   ชุดวิชา

บังคับ  5  ชุดวิชา       

25302 หลักและระบบงานแนะแนวในสถานศึกษา  

25303 การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต       

25405 เทคนิคการปรึกษาเบื้องต้น         

25406 กิจกรรมและเครื่องมือแนะแนว    

25407 ประสบการณ์วิชาชีพการแนะแนว 

และเลือก  2  ชุดวิชาจากกลุ่มวิชาการแนะแนวในระดับประถมศึกษา หรือการแนะแนวในระดับมัธยมศึกษา

เพียงกลุ่มเดียว

กลุ่มวิชาการแนะแนวในระดับประถมศึกษา           

21201 พฤติกรรมวัยเด็ก          

25304 การแนะแนวในระดับประถมศึกษา            

กลุ่มวิชาการแนวแนวในระดับมัธยมศึกษา            

22304 การแนะแนวในระดับมัธยมศึกษา

22305 พฤติกรรมวัยรุ่น           

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ      

สำเร็จการศึกษาในระดับอนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่าในสาขาใดก็ได้  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                    1  ชุดวิชา             (6  หน่วยกิต)

.   หมวดวิชาชีพ                               4 ชุดวิชา            (24  หน่วยกิต)

.   หมวดวิชาเฉพาะ                           7 ชุดวิชา            (42  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา หรือ 72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาชีพ   4   ชุดวิชา

20201 พัฒนศึกษา    

20202 วิทยาการการสอน        

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา  

20302 สถิติ  วิจัย  และการประเมินผลการศึกษา   

.   หมวดวิชาเฉพาะ   7   ชุดวิชา

26301 การศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษานอกระบบ         

26302 การจัดการการศึกษานอกระบบ    

26403 การพัฒนาและการใช้แหล่งวิทยาการในชุมชน         

26404 หลักการเรียนรู้และเทคนิคการฝึกอบรม     

26405 การศึกษาทางไกล       

26406 การพัฒนาและการใช้สื่อการศึกษานอกระบบ          

26407 ประสบการณ์วิชาชีพการศึกษานอกระบบ

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)

แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา   

สำหรับผู้มีวุฒิทางการศึกษา  (ผู้จบ ป.กศ.สูง  หรือ พ.. หรือเทียบเท่า)  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                     1  ชุดวิชา              (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                                4  ชุดวิชา             (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                            5  ชุดวิชา             (30  หน่วยกิต)

            โดยแบ่งเป็น

            1)  ชุดวิชาบังคับ               3  ชุดวิชา           (18  หน่วยกิต)

            2)  ชุดวิชาเลือก               2  ชุดวิชา           (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                          2  ชุดวิชา             (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาชีพ   4   ชุดวิชา

20203 การศึกษากับชีวิตและชุมชน       

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา  

20302 สถิติ  วิจัย และการประเมินผลการศึกษา    

24407 ประสบการณ์วิชาชีพการวัดและประเมินผลการศึกษา            

.   หมวดวิชาเฉพาะ    5   ชุดวิชา

บังคับ  3  ชุดวิชา       

24401 จิตวิทยาและสังคมวิทยาพื้นฐานเพื่อการวัดและประเมินผลการศึกษา

24402 การพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

24406 การบริหารและการจัดการการวัดและประเมินผลการศึกษาในโรงเรียน   

และเลือก  2  ชุดวิชาจากกลุ่มวิชาการวัดและประเมินผลในระดับปฐมวัยศึกษา ประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษา

เพียงกลุ่มเดียว

กลุ่มวิชาการวัดและประเมินผลในระดับปฐมวัยศึกษา          

21311 พฤติกรรมการสอนปฐมวัยศึกษา

24403 การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเตรียมประสบการณ์

กลุ่มวิชาการวัดและประเมินผลในระดับประถมศึกษา           

21321 พฤติกรรมการสอนประถมศึกษา

24404 การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาทักษะและสร้างเสริมประสบการณ์

กลุ่มวิชาการวัดและประเมินผลในระดับมัธยมศึกษา

22301 พฤติกรรมการสอนมัธยมศึกษา

24405 การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเฉพาะ        

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  2   ชุดวิชา ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 


ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)

แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา

สำหรับผู้ไม่มีวุฒิทางการศึกษา (ผู้จบ ปวส. หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญา  หรือสูงกว่า)  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                     1  ชุดวิชา              (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                                7  ชุดวิชา           (42  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                            5  ชุดวิชา           (30  หน่วยกิต)

           โดยแบ่งเป็น

           1)  ชุดวิชาบังคับ                3  ชุดวิชา             (18  หน่วยกิต)

           2)  ชุดวิชาเลือก                 2  ชุดวิชา             (12  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเลือกเสรี                           2  ชุดวิชา          (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  15  ชุดวิชา  หรือ  90  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาชีพ   7   ชุดวิชา

20101 พื้นฐานการศึกษา

20201 พัฒนศึกษา

20202 วิทยาการการสอน

20203 การศึกษากับชีวิตและชุมชน       

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา  

20302 สถิติ  วิจัย และการประเมินผลการศึกษา    

24407 ประสบการณ์วิชาชีพการวัดและประเมินผลการศึกษา            

.   หมวดวิชาเฉพาะ    5   ชุดวิชา

บังคับ  3  ชุดวิชา       

24401 จิตวิทยาและสังคมวิทยาพื้นฐานเพื่อการวัดและประเมินผลการศึกษา

24402 การพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

24406 การบริหารและการจัดการการวัดและประเมินผลการศึกษาในโรงเรียน   

และเลือก  2  ชุดวิชาจากกลุ่มวิชาการวัดและประเมินผลในระดับปฐมวัยศึกษา  ประถมศึกษาหรือมัธยมศึกษา

เพียงกลุ่มเดียว

กลุ่มวิชาการวัดและประเมินผลในระดับปฐมวัยศึกษา          

21311 พฤติกรรมการสอนปฐมวัยศึกษา

24403 การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเตรียมประสบการณ์

กลุ่มวิชาการวัดและประเมินผลในระดับประถมศึกษา           

21321 พฤติกรรมการสอนประถมศึกษา

24404 การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาทักษะและสร้างเสริมประสบการณ์

กลุ่มวิชาการวัดและประเมินผลในระดับมัธยมศึกษา

22301 พฤติกรรมการสอนมัธยมศึกษา

24405 การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเฉพาะ        

.    หมวดวิชาเลือกเสรี  2   ชุดวิชา ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด   ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)     

แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา     

สำหรับผู้มีวุฒิทางการศึกษา (ผู้จบ ป.กศ.สูง หรือเทียบเท่า)   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                      1  ชุดวิชา            (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                                4  ชุดวิชา          (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                             6  ชุดวิชา          (36  หน่วยกิต)

           โดยแบ่งเป็น

           1)  ชุดวิชาบังคับ                3  ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

           2) ชุดวิชาเลือก                  3  ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี               1  ชุดวิชา             (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12   ชุดวิชา  หรือ   72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาชีพ     4   ชุดวิชา

20203 การศึกษากับชีวิตและชุมชน       

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา  

20302 สถิติ  วิจัย และการประเมินผลการศึกษา    

27416 ประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา            

.   หมวดวิชาเฉพาะ   6   ชุดวิชา

บังคับ  3  ชุดวิชา       

27101 อุปกรณ์ทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา          

27102 เทคโนโลยีทางการสอน

27103 สื่อการศึกษาพัฒนสรร  

และเลือก  3  ชุดวิชาจากวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่งตามความสนใจที่จะศึกษาหาความรู้ในแต่ละด้านต่อไปนี้

      วิชาเอกสื่อการสอนระดับปฐมวัยศึกษา    

21312 สื่อการสอนระดับปฐมวัยศึกษา    

27104 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา                

27112 การบริหารศูนย์สื่อการศึกษา       

วิชาเอกสื่อการสอนระดับประถมศึกษา    

21322 สื่อการสอนระดับประถมศึกษา    

27104 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา                

27112 การบริหารศูนย์สื่อการศึกษา       

วิชาเอกสื่อการสอนระดับมัธยมศึกษา

22302 สื่อการสอนระดับมัธยมศึกษา      

27104 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา                

27112 การบริหารศูนย์สื่อการศึกษา       

.    หมวดวิชาเลือกเสรี   1 ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)     

แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา     

สำหรับผู้ไม่มีวุฒิทางการศึกษา (ผู้จบ ปวส.  หรือเทียบเท่า  หรืออนุปริญญา หรือสูงกว่า) มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                      1  ชุดวิชา            (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาชีพ                                6  ชุดวิชา          (36  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                             6  ชุดวิชา          (36  หน่วยกิต)

           โดยแบ่งเป็น

           1)  ชุดวิชาบังคับ                3  ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

           2) ชุดวิชาเลือก                  3  ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี               1  ชุดวิชา          (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  14   ชุดวิชา  หรือ   84  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาชีพ     6   ชุดวิชา

20101 พื้นฐานการศึกษา

20202 วิทยาการการสอน

20203 การศึกษากับชีวิตและชุมชน       

20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา  

20302 สถิติ วิจัย และการประเมินผลการศึกษา     

27416 ประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา            

.   หมวดวิชาเฉพาะ   6   ชุดวิชา

บังคับ  3  ชุดวิชา       

27101 อุปกรณ์ทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา          

27102 เทคโนโลยีทางการสอน

27103 สื่อการศึกษาพัฒนสรร  

และเลือก  3  ชุดวิชาจากวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่งตามความสนใจที่จะศึกษาหาความรู้ในแต่ละด้านต่อไปนี้

วิชาเอกสื่อการสอนระดับปฐมวัยศึกษา    

21312 สื่อการสอนระดับปฐมวัยศึกษา    

27104 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา                

27112 การบริหารศูนย์สื่อการศึกษา       

วิชาเอกสื่อการสอนระดับประถมศึกษา    

21322 สื่อการสอนระดับประถมศึกษา    

27104 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา                

27112 การบริหารศูนย์สื่อการศึกษา       

วิชาเอกสื่อการสอนระดับมัธยมศึกษา

22302 สื่อการสอนระดับมัธยมศึกษา      

27104 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา                

27112 การบริหารศูนย์สื่อการศึกษา       

.    หมวดวิชาเลือกเสรี   1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

คำอธิบายชุดวิชา
เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

                        การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี  นักศึกษาสามารถเลือกศึกษาได้จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย  ยกเว้นชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

ก.      ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

ข.      ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่น ๆ ในหลักสูตรที่เรียน

ค.      ชุดวิชาที่มีการกำหนดคุณสมบัติและทักษะพื้นฐานไว้โดยเฉพาะ

                        ชุดวิชาต่าง ๆ ที่สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ไม่อนุญาตให้เลือกเป็นชุดวิชาเลือกเสรีตามลักษณะดังกล่าวข้างต้นมีรายชื่อดังนี้

1.         ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.         ชุดวิชา  16344 การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.         ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.         ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.         ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.         ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.         ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.         ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.         ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.     ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.     ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.     ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.     ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.     ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.     ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.     ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.     ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.     ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

19.     ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

20.     ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

21.     ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

22.     ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

23.     ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย  และเออร์กอนอมิคส์

24.     ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

25.     ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

26.     ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

27.     ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

28.     ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

29.     ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

30.     ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

31.     ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

32.     ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

33.     ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

34.     ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

35.     ชุดวิชา  93455 การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

36.     ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

37.     ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

38.     ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

39.     ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

40.     ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์ไร้แรงกด

41.     ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเกินโครงสร้างหลักสูตร

 

                        นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนชุดวิชาหรือรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเกินโครงสร้างหลักสูตรได้ยกเว้น  ชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

                1. ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

                2. ชุดวิชา หรือรายวิชาที่มีเนื้อหาและภาคปฏิบัติในการอบรมเข้ม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการไว้เฉพาะสำหรับหลักสูตรนั้นๆ

                3. ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่นๆ ในหลักสูตรที่เรียน            

ชุดวิชาต่าง ๆ ที่สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ไม่อนุญาตให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเกินโครงสร้างหลักสูตรตามลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีรายชื่อดังนี้

 

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344 การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน 

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก  

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา  

18.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์ 

19.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

20.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย 

21.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม    

22.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

23.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร   

24.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์ 

25.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม  

26.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ       

27.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

28.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก   

29.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

30.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

31.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ         

32.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล    

33.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์     

34.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ       

35.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์ไร้แรงกด

36.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 

 
 
footer

ควรใช้ความละเอียดหน้าจอที่ 1024 by 768 pixels และ Internet Explorer version 5.5 + ขึ้นไป
จัดทำข้อมูลหลักสูตรโดยสำนักวิชาการ จัดทำระบบโดย คณะทำงานเผยแพร่สารสนเทศในระบบอินเตอร์เน็ต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Copyright © STOU Sukhothai Thammathirat OpenUniversity. All rights reserved.