สวดมนต์ได้ช่วยให้สุขภาพดีได้จริงไหม
?
โดย...คุณภัทธิยา ภักดีบุรี
อาชีพปัจจุบัน นักศึกษาโครงการสัมฤทธิบัตร มสธ.
ต.หลักช้าง อ.ช้างกลาง จ.นครศรีธรรมราช
อีเมล์ : farm_pattiya33@hotmail.com
(เนื้อหาและภาพประกอบเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน)
|
พุทธศาสนาได้กล่าวไว้ว่า สุขภาพที่ดี
คือ ใจที่แข็งแรงกับร่างกายที่แข็งแรง
การสวดมนต์
คือ การที่ใจได้ใช้สติกับปัญญากำกับที่เสียงของบทสวดมนต์ เมื่อใจได้ใช้สติกับปัญญากำกับที่เสียงของบทสวดมนต์นั้น
ใจได้มีสมาธิที่ว่าง มั่นคงและสงบ
ได้อย่างง่าย ที่ได้เป็นการปฏิบัติควบคู่กับการเจริญอานาปานสติ คือ การฝึกลมหายใจเข้าและลมหายใจออกให้ลึกยาว
เมื่อหายใจเข้า ร่างกายได้รับออกซิเจนและเมื่อเปล่งเสียง
หรือหายใจออก ร่างกายได้ขจัดคาร์บอนไดออกไซด์ เพราะฉะนั้นยิ่งได้สวดมนต์
ใจยิ่งได้บริสุทธิ์กับร่างกายยิ่งได้ขจัดมลพิษหรือร่างกายยิ่งได้สะอาด
ข้อมูลภาพ ณ วันที่ 31-12-58
|
|
นอกจากนั้น
การสวดมนต์อย่างศรัทธาเป็นประจำได้ทำให้ใจมีที่พึ่งทางใจอย่างอบอุ่น สุขุม
เย็นและเบิกบานได้อย่างยิ่ง
การสวดมนต์ได้มี 3 รูปแบบ ดังนี้
1.
การสวดมนต์ด้วยตัวเอง ที่ได้เป็นรูปแบบของการสวดมนต์ที่ดีที่สุด ที่ร่างกายได้หลั่งสารซีโรโทนิน
และใจได้รับประโยชน์จำนวนมากดังกล่าว
2. การฟังผู้อื่นสวดมนต์
เมื่อผู้ที่ได้ฟังผู้อื่นได้สวดมนต์ได้มีสมาธิ เสียงสวดมนต์ของผู้อื่นได้นุ่มและทุ้ม
ที่ช่วยให้ใจกับร่างกายของผู้ที่ได้ฟังผู้อื่นได้สวดมนต์นั้นได้ดีขึ้น
3. การสวดมนต์ให้ผู้อื่นฟัง
ใจของผู้ที่ได้สวดมนต์ให้ผู้อื่นได้ฟังได้ปรารถนาให้ผู้อื่นได้มีสุขหรือได้มีสภาพของใจที่ดี
ที่คลื่นของเสียงสวดมนต์นั้นได้เป็นคลื่นบวกที่ได้ส่ง
ให้ผู้อื่นที่ได้ฟังได้มีสภาพของใจที่ดีได้เช่นเดียวกับใจของผู้ที่ได้สวดมนต์ให้ผู้อื่นได้ฟังนั้น
การแพทย์แผนปัจจุบันได้ชี้ว่า
ใจได้เป็นสิ่งที่สำคัญที่ได้ทำให้ร่างกายได้เกิดโรคและร่างกายได้ปราศจากโรค
ตัวอย่าง โรคหัวใจ
โรคปวดศีรษะ โรคหอบหืด โรคกระเพาะอาหารและโรคระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น ที่ได้เกิดจากสภาพของใจที่ผิดปกติหรือใจที่ได้มีเครียด
และใจ
ที่ได้มีโกรธ เป็นต้น
ที่ได้ตรงข้ามกับร่างกายที่ได้มีภูมิต้านทานที่ดี
ที่ได้เกิดจากสภาพของใจที่ปกติหรือใจที่ได้มีเมตตา และใจที่ได้ให้อภัย เป็นต้น
ที่สาเหตุดังกล่าวได้ทำให้การแพทย์ได้สนใจรักษาโรคภายในรูปแบบใหม่โดยไม่ต้องใช้ยา
แต่ได้สร้างเสริมปัจจัยที่ได้ทำให้ร่างกายได้มีภูมิต้านทานดีขึ้นหรือได้ทำให้
ร่างกายได้รักษาตัวเองขึ้น
รศ.ดร.สมพร
กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี อดีตหัวหน้าภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ชี้ว่า การสวดมนต์ นับเป็นวิธีหนึ่ง
ของการปฏิบัติสมาธิ ที่ได้เป็นการปฏิบัติสมาธิโดยการใช้เสียงที่ได้กระตุ้นการทำงานของตัวรับสัญญาณของร่างกายให้ผลิตสารเคมี
สารไฟฟ้า สารสื่อประสาทและโปรตีน
บางตัวที่การสั่นสะเทือนของเสียงที่ได้เป็นจังหวะที่ดีได้ควบคุมใจกับร่างกายให้สมดุล
เพราะฉะนั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่ได้มีกว่า ๒,๕๐๐ ปี ที่ว่า ใจที่ได้มีกิเลสไม่ดีเป็นสาเหตุของทุกข์หรือโรคนั้นได้เป็นความจริง
ใจกับร่างกายที่ได้ผ่อนคลาย
ได้เป็นสิ่งที่สำคัญที่ได้ช่วยป้องกันและรักษาโรค ที่วิธีที่ใจกับร่างกายได้ผ่อนคลายที่การแพทย์แผนปัจจุบันได้สนใจได้อย่างพิเศษ
คือ การ
สวดมนต์ เป็นต้น
พุทธศาสนาได้มีบทสวดมนต์ให้เราได้เลือกจำนวนมาก
และการสวดมนต์อย่างน้อยที่สุดวันละประมาณ 10 นาทีก่อนนอน เพื่อได้ระลึกถึงพระพุทธคุณ
พระธรรมคุณ
และพระสังฆคุณ เป็นทางเลือกหนึ่งที่เราควรทำ
ข้อมูลภาพ ณ วันที่ 31-12-58
|
|
เพราะใจของเราได้ปราศจากกิเลสไม่ดีหรือใจของเราที่ได้ผ่อนคลาย
ได้เป็นใจที่ได้มีสภาพที่ละเอียด ที่เมื่อเราได้นอนหลับใจของเราได้มีสุขที่ฝังอยู่ภายในใจลึกของ
เราที่การนอนหลับนั้นได้เป็นการที่ใจกับร่างกายได้พักผ่อนได้อย่างแท้ ที่เมื่อเราได้ทำงานหรือเผชิญกับปัญหาหลังจากที่เราได้ตื่นนอน
ใจกับร่างกายของเราได้มีพลังอดทน
หรือใจของเราได้มีสุขภาพดีได้อย่างพร้อม
เอกสารอ้างอิง
...........................................................................................................................
ธ.ธรรมรักษ์
และฤทธิญาโณ. (2553). ภาคที่สอง สวดให้สุขกาย สุขใจ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ.
ใน สุดยอดเคล็ดสวดมนต์ ให้ชีวิตดี ให้สุข ให้รวย, วังไพร สีสังข์, 90-93
และ 97-100. กรุงเทพมหานคร : ไพลินบุ๊คเน็ต
Admin. (2558).
สวดมนต์ บำบัดกาย เสริมความสบายใจ. Rama Channel: โรงพยาบาลรามาธิบดี.
ออนไลน์. สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต, http://www.med.mahidol.ac.th/ramachannel/index.php/
knowforhealth-22102558/, ค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2558
สันติสุข สันติสุข.
(2552). ความสำคัญและประโยชน์ของการสวดมนต์. GotoKnow: จันทวรรณ ปิยะวัฒน์
และธวัชชัย ปิยะวัฒน์. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต, https://www.gotoknow.org/posts/322262,
ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2558
ปภัชญา ผาสุขธรรม.
(2558). การสวดมนต์บ่อเกิดสมาธิกับการรักษาโรค. HealthyDeeDee: Alexander
Agnarson. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต,
http://healthydeedee.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95
%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%
A1%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4/, ค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2558
|