รูปแบบการเขียนเป็นรายละเอียดต่าง ๆ ในการเขียนเพื่อให้บทความมีความสมบูรณ์สะท้อนความถูกต้องตามแนวปฎิบัติทางวิชาการและความพิถีพิถันของผู้เขียน ในที่นี้จะกล่าวโดยสรุป
ผู้เขียนบทความทางวิชาการควรสนใจการใช้เครื่องหมาย (punctuation) ต่าง ๆ ดังนี้
1. การใช้เครื่องหมายท้ายประโยค
period หรือ full stop (.) เครื่องหมายคำถาม (?) เครื่องหมายอัศเจรีย์ ตกใจ (!)
ในบทความทางวิชาการไม่ค่อยปรากฏเครื่องหมายตกใจ เครื่องหมายคำถามอาจมีบ้างไม่มาก
2. เครื่องหมาย comma (,)
เพื่อความชัดเจน
In the report, he argued…
First, …. Second, …
หากอยู่กลางประโยค ใช้ comma คั่น
The objectives of this paper are to …, to …, and to….
… , and
… , or
….., which is…., in
A said, “….”.
3. การใช้เครื่องหมาย semicolons (;)
The segmenting of the protocols was carried out independently by two raters; the segments were then compared to ensure reliability.
ในบทคัดย่อบางครั้งใช้เขียนแสดงผลที่เป็นกลุ่มคำนามคั่นแต่ละกลุ่ม
ต้องศึกษาคำย่อของศัพท์วิชาการที่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการนั้น
4. การใช้เครื่องหมาย apostrophes (’)
ระวังการใช้ผิด เช่น it’s มาจาก it is ส่วน its เป็น possessive pronoun
learners’ attitudes
5. การใช้เครื่องหมาย quotation
การอ้างอิงข้อความใช้มากในงานเขียนทางวิชาการ
หากข้อความที่อ้างอิงยาวมาก ให้ใช้ย่อหน้าแล้วยกข้อความมาใช้การย่อหน้า (indent quotation)
หรือเพื่อต้องการเน้น
6.การใช้เครื่องหมาย colon (:)
According to media critic, reality television suffers from two problems: Producers manipulate supposedly live programming to increase ratings, and they humiliate contestants as a form of public entertainment.
The results are as follows: