กลับหน้าแรก มสธ.
| STOU | Home |
Administrator
หน้าหลักโครงสร้างหลักสูตร
ประจำปีการศึกษา 2549

| กระดานถาม-ตอบหลักสูตรคำถามถามบ่อย FAQs | ติดต่อสอบถาม |

โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาการจัดการ
โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาการจัดการ

วิทยาการจัดการ

          - ระดับปริญญาตรี (4 ปี)

          - ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

ระดับหลักสูตร

          - แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการจัดการทั่วไป 

          - แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการบัญชี 

          - แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ  วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์

  • ปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)  

          - แขนงวิชาการจัดการงานก่อสร้าง  วิชาเอกการจัดการงานก่อสร้าง 

          - แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการจัดการทั่วไป 

          - แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการบัญชี

          - แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการเงินและการธนาคาร

          - แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการตลาด 

          - แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการประกันภัยทั่วไป

          - แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว 

          - แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ  วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์

ชื่อหลักสูตรและชื่อปริญญา

 

1.  หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต  แขนงวิชาการจัดการงานก่อสร้าง  วิชาเอกการจัดการงานก่อสร้าง

     Bachelor  of  Business  Administration  Program  in  Construction  Management

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

บริหารธุรกิจบัณฑิต  (การจัดการงานก่อสร้าง)

อักษรย่อ                     

บธ..  (การจัดการงานก่อสร้าง)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Business  Administration  (Construction  Management)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.B.A.  (Construction  Management)

2.  หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต  แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการจัดการทั่วไป

     Bachelor  of  Business  Administration  Program  in  General  Management

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

บริหารธุรกิจบัณฑิต  (การจัดการทั่วไป)

อักษรย่อ                     

บธ..  (การจัดการทั่วไป)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Business  Administration  (General  Management)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.B.A.  (General  Management)

3.  หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต  แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการบัญชี

     Bachelor  of  Business  Administration  Program  in  Accounting

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

บริหารธุรกิจบัณฑิต  (การบัญชี)

อักษรย่อ                     

บธ..  (การบัญชี)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Business  Administration  (Accounting)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.B.A.  (Accounting)

4.  หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต  แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการเงินและการธนาคาร

     Bachelor  of  Business  Administration  Program  in  Finance  and  Banking

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

บริหารธุรกิจบัณฑิต  (การเงินและการธนาคาร)

อักษรย่อ                     

บธ..  (การเงินและการธนาคาร)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Business  Administration  (Finance  and  Banking)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.B.A.  (Finance  and  Banking)

5.  หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต  แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการตลาด

     Bachelor  of  Business  Administration  Program  in  General  Management

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

บริหารธุรกิจบัณฑิต  (การตลาด)

อักษรย่อ                     

บธ..  (การตลาด)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Business  Administration  (Marketing)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.B.A.  (Marketing)

6.  หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต  แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการประกันภัยทั่วไป

     Bachelor  of  Business  Administration  Program  in  Insurance

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

บริหารธุรกิจบัณฑิต  (การประกันภัยทั่วไป)

อักษรย่อ                     

บธ..  (การประกันภัยทั่วไป)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Business  Administration  (Insurance)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.B.A.  (Insurance)

7.  หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต  แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว

     Bachelor  of  Business  Administration  Program  in  Tourism  Management

     ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม                        

บริหารธุรกิจบัณฑิต  (การจัดการการท่องเที่ยว)

อักษรย่อ                     

บธ..  (การจัดการการท่องเที่ยว)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Business  Administration  (Tourism  Management)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.B.A.  (Tourism  Management)

       

8.  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต  แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ  วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์

     Bachelor  of  Public  Administration  Program  in  General  Management

     ชื่อปริญญา

   ชื่อเต็ม                        

รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต 

อักษรย่อ                     

รป.. 

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    

Bachelor  of  Public  Administration 

อักษรย่อภาษาอังกฤษ 

B.P.A. 

คุณสมบัติของผู้สมัคร

 

ระดับปริญญาตรี   (4  ปี)                                                  

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการจัดการทั่วไป

1.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย  (.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้ว ไม่น้อยกว่า  5  ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3)  หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า  25  ปีบริบูรณ์  นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา  หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3)  หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.)  หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีในสาขาอื่นที่ไม่ใช่สาขาวิชาการบัญชี  การตลาด  การเลขานุการ  การจัดการ  การขาย 

การโฆษณา  การเงินและการธนาคาร  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  การบริหารงานบุคคล  และสาขาเศรษฐศาสตร์ 

วิชาเอกการเงินและการธนาคาร  และวิชาเอกบริหารธุรกิจ  หรือ

7.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค  (ปวท.)  ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่สาขาวิชาการบัญชี  การธนาคารและธุรกิจ  การเงิน  การเลขานุการ  การตลาด  การขาย  การโรงแรมและการท่องเที่ยว  หรือสำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)  ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ หรือทางศิลปศาสตร์ (ภาษาต่างประเทศ)

 

หมายเหตุ   ผู้สำเร็จการศึกษาตามคุณสมบัติข้อ 4) จะได้รับการพิจารณาให้ศึกษาในโครงสร้างใดนั้น จะพิจารณา

               เป็นกรณีๆ ไป

 

 

ระดับปริญญาตรี   (4  ปี)                                                  

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการบัญชี

1.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย  (.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษา และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี  หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3)  หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25  ปีบริบูรณ์  นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา  หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3)  หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.)  หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาใดสาขาหนึ่งที่ไม่ใช่ทางบริหารธุรกิจ  จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง  หรือ

7.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)  ในสาขาใดสาขาหนึ่งที่ไม่ใช่ทางบริหารธุรกิจ  และประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค  (ปวท.)  ในสาขาใดสาขาหนึ่งที่ไม่ใช่ทางบริหารธุรกิจจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการหรือสำนักงาน ก.. รับรอง

 

หมายเหตุ  1.  ผู้สำเร็จการศึกษาตามคุณสมบัติข้อ 4) จะได้รับการพิจารณาให้ศึกษาในโครงสร้างใดนั้น จะพิจารณา

                    เป็นกรณีๆ  ไป

               2.  ผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาคหกรรมศาสตร์ เกษตรกรรม 

   ช่าง  (ช่างโยธา  ช่างไฟฟ้า  ช่างกล  ช่างอุตสาหกรรม  ช่างพิมพ์  และช่างภาพ) เคมีอุตสาหกรรม

   และศิลปหัตถกรรม  และประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)  ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม 

   เกษตรกรรม คหกรรม  และศิลปหัตถกรรม  ให้ศึกษาชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 3 ชุดวิชาคือ

     1)      ชุดวิชา  10121  อารยธรรมมนุษย์     3)     ชุดวิชา  10151  ไทยศึกษา

                       2)   ชุดวิชา  10131  สังคมมนุษย์

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ  วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์

1.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย  (.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้ว  ไม่น้อยกว่า 5 ปี  หลังสำเร็จการศึกษา  นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3)  หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า  25  ปีบริบูรณ์  นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา  หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (.3)  หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.)  หรือเทียบเท่า   หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค  (ปวท.)  ในประเภทวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ หรือ

เทียบเท่า  หรือ

7.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา  หรือเทียบเท่า  หรือสูงกว่าในสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่สาขารัฐศาสตร์  รัฐประศาสนศาสตร์ 

สังคมศาสตร์ (รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์)บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จากสถาบันอุดมศึกษา

ที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

8.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าในประเภทวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ  สาขาวิชาการบัญชี  การตลาด  การเลขานุการ  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  การเงินและการธนาคาร  อุตสาหกรรมท่องเที่ยว  ธุรกิจการค้าต่างประเทศ  การจัดการงานบุคคล  ธุรกิจประกันภัย  ธุรกิจโรงแรม  ธุรกิจสถานพยาบาล  การประชาสัมพันธ์  และธุรกิจหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์  หรือ

9.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ

 

หมายเหตุ   ผู้สำเร็จการศึกษาตามคุณสมบัติข้อ 4) จะได้รับการพิจารณาให้ศึกษาในโครงสร้างใดนั้น  จะพิจารณา

               เป็นกรณีๆ ไป

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาการจัดการงานก่อสร้าง  วิชาเอกการจัดการงานก่อสร้าง

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาช่างก่อสร้าง  ช่างโยธา  ช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม  ช่างสำรวจ  วิศวกรรมการทาง  วิศวกรรมชลประทาน  วิศวกรรมโยธา  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม  โดยมีพื้นความรู้เดิม ปวช.ก่อสร้าง และมีประสบการณ์การทำงานด้านที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการชลประทาน  จากโรงเรียนชลประทาน  หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาช่างตรีกรมโยธาธิการ  ช่างตรีจากโรงเรียนช่างรังวัดที่ดิน (กรมที่ดิน) ช่างตรีจากโรงเรียนช่างกลางคืน กระทรวงศึกษาธิการ  ซึ่งอนุมัติทั้ง 3 แผนก ได้แก่ ช่างกล ช่างไฟฟ้า และช่างโยธา  หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมในสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมสำรวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา  สาขาวิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม  หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีศิลปบัณฑิต (มัณฑนศิลป์) เฉพาะสาขาวิชาการออกแบบตกแต่งภายใน  ปริญญาตรีช่างชลประทานบัณฑิต  หรือ

7.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ หรือสถาปัตยกรรมศาสตร์

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการจัดการทั่วไป

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าในประเภทวิชาบริหารธุรกิจ  สาขาวิชาการบัญชี การตลาด  การเลขานุการ  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  การเงินและการธนาคาร  อุตสาหกรรมท่องเที่ยว  ธุรกิจการค้าต่างประเทศ  การจัดการงานบุคคล  ธุรกิจประกันภัย  ธุรกิจโรงแรม  ธุรกิจสถานพยาบาล  การประชาสัมพันธ์  และธุรกิจหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือสูงกว่าในสาขาเศรษฐศาสตร์  วิชาเอกการเงินและการธนาคาร และวิชาเอกบริหารธุรกิจ  หรือสาขาต่าง ๆ ตามที่ระบุในข้อ 1  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางศิลปศาสตร์ (ภาษาต่างประเทศ) หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจในสาขาวิชาการบัญชี  การธนาคารและธุรกิจการเงิน  การเลขานุการ  การตลาด  การขาย  การโรงแรมและการท่องเที่ยว  หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการโรงแรมและการท่องเที่ยว จากวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)                                                  

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการบัญชี

1.  สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา  หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการบัญชี  จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง 

     หรือ

2.  สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการบัญชี จากสถาบันการศึกษาที่

     กระทรวงศึกษาธิการ หรือสำนักงาน ก.. รับรอง

 

หมายเหตุ  ผู้สำเร็จการศึกษาระดับต่อไปนี้ ทางมหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้เข้าศึกษาโดยกำหนดให้ศึกษาชุดวิชา

               เพิ่มเติมจากหลักสูตรระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

               1.  สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาใดสาขาหนึ่งทางบริหารธุรกิจ

                    ที่ไม่ใช่การบัญชี  จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง

               2.  สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาใดสาขาหนึ่งทางบริหารธุรกิจ       

                    ที่ไม่ใช่การบัญชี และประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ทางบริหารธุรกิจจากสถาบันการศึกษา

                    ที่กระทรวงศึกษาธิการ หรือสำนักงาน ก.. รับรอง

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)                                                  

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการเงินและการธนาคาร

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจด้านการเงินและการธนาคาร การบัญชี หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจที่ไม่ใช่ด้านการเงินและการธนาคาร  การบัญชี  ธุรกิจบริการ  ภาษาธุรกิจ  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) สาขาวิชาบริหารธุรกิจด้านการเงินและการธนาคาร  การบัญชี  หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) สาขาวิชาบริหารธุรกิจที่ไม่ใช่ด้านการเงินและการธนาคาร  การบัญชี  ธุรกิจบริการ  ภาษาธุรกิจ  หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) สาขาวิชาบริหารธุรกิจด้านธุรกิจบริการ  ภาษาธุรกิจ  หรือ

6.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการโรงแรมและการท่องเที่ยว จากวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2  ปี)                                                   

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการตลาด

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการตลาด  การขาย  หรือ ปริญญาตรี สาขาวิชาบริหารธุรกิจหรือพาณิชยศาสตร์  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการบัญชี  การเงินและการธนาคาร  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาธุรกิจบริการ  ธุรกิจการค้าต่างประเทศ  หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการจัดการ  การบริหารงานบุคคล  การเลขานุการ  การโฆษณา  สารสนเทศ  ภาษาธุรกิจ  หรือ

5.       สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาอื่น ๆ ที่ไม่ใช่บริหารธุรกิจหรือพาณิชยศาสตร์

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)                                                  

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการประกันภัยทั่วไป

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง  หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจด้านการเงินและการธนาคาร  การบัญชี  การตลาด  และการจัดการ หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง  หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจที่ไม่ใช่ด้านการเงินและการธนาคาร  การบัญชี  การตลาด  และการจัดการ  หรือ

3.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) สาขาวิชาบริหารธุรกิจ  หรือ

4.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการโรงแรมและการท่องเที่ยว  จากวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต

 

หมายเหตุ  ผู้สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา  หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง  หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

   (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)  หรือเทียบเท่าในสาขาใดสาขาหนึ่งทางบริหารธุรกิจ

   หรือสาขาอื่นใดที่เกี่ยวข้องที่ไม่ใช่ด้านการเงินและการธนาคาร  การบัญชี  การตลาด  และการจัดการ

   มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้เข้าศึกษา โดยกำหนดให้ศึกษาชุดวิชาเพิ่มเติมจากหลักสูตรระดับปริญญา

              ตรีต่อเนื่อง (2  ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)                                                  

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว

1.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในประเภทวิชาหรือสาขาวิชาการท่องเที่ยวหรือการโรงแรม  หรือบริหารธุรกิจ  หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว  หรือสาขาวิชาธุรกิจบริการหรือสาขาวิชาบริหารธุรกิจ  หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์  วิชาเอกบริหารธุรกิจ  หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขา

 

หมายเหตุ  ผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาวิชาอื่นใดจากสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัย

               รับรองหรือสำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าสาขาวิชาคหกรรม

               ศาสตร์ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สำหรับวิทยาลัยชุมชน หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ

               เทคนิค (ปวท.) หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาธุรกิจโรงแรม  อุตสาหกรรมท่องเที่ยว  การตลาด  การบัญชี 

               เลขานุการ  การเงินและการธนาคาร  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  ธุรกิจบริการและการประชาสัมพันธ์  จาก

               สถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการหรือสำนักงาน ก.. รับรอง  มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้เข้า

               ศึกษาโดยกำหนดให้ศึกษาชุดวิชาเพิ่มเติมจากหลักสูตรระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)                                                  

แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ  วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์

1.       สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่าในสาขารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์  สังคมศาสตร์ (รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์)  บริหารธุรกิจ  พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

2.       สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าในประเภทวิชาบริหารธุรกิจ  สาขาวิชาการจัดการ การบัญชี  การตลาด  การเลขานุการ  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  การเงินและการธนาคาร อุตสาหกรรมท่องเที่ยว  ธุรกิจการค้าต่างประเทศ การจัดการงานบุคคล ธุรกิจประกันภัย ธุรกิจโรงแรม  ธุรกิจสถานพยาบาล การประชาสัมพันธ์  และธุรกิจหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการจัดการทั่วไป_4 ปี)

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการจัดการทั่วไป

สำเร็จการศึกษา ม.3  หรือเทียบเท่า  หรือม.6 หรือเทียบเท่า  หรือปวช. มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               5   ชุดวิชา    (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    18   ชุดวิชา  (108  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ               15   ชุดวิชา  (90  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก                 3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1    ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  24  ชุดวิชา  หรือ  144  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  5  ชุดวิชา

บังคับ  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

และเลือก  4  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

10103 ทักษะชีวิต

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10121 อารยธรรมมนุษย์

10131 สังคมมนุษย์

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10152 ไทยกับสังคมโลก

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  18  ชุดวิชา

บังคับ  15  ชุดวิชา

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร            

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ  

30205 คณิตศาสตร์และสถิติ    

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32301 การจัดการการผลิตและปฏิบัติการ            

32302 การจัดการการตลาด     

32303 การจัดการการเงิน

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32401 การวางแผนและควบคุมงานบริหาร           

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   

32415 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ  

32442 การจัดการเชิงกลยุทธ์   

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น         

และเลือก  3  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

32305 การจัดการวัสดุและการจัดซื้อ      

32306 การลงทุน       

32307 การจัดการการขายและการกระจายสินค้า   

32403 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ        

32406 การจัดการสินเชื่อ         

32407 การจัดการธุรกิจต่างประเทศ       

32408 การจัดการธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลีก

32410 การบริหารค่าตอบแทน  

32411 ปัญหาและการวิจัยตลาด            

32413 การจัดการงานขนส่งสินค้า          

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย   

32422 หลักการประกันภัย       

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการจัดการทั่วไป

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีในสาขาอื่นที่ไม่ใช่สาขาวิชาการบัญชี  การตลาด  การเลขานุการ  การจัดการ  การขาย  การโฆษณา  การเงินและการธนาคาร  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  การบริหารงานบุคคล  และสาขาเศรษฐศาสตร์  วิชาเอกการเงินและการธนาคาร และวิชาเอกบริหารธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      18    ชุดวิชา   (108  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          15   ชุดวิชา  (90  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก            3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1    ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  20  ชุดวิชา  หรือ  120  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  18  ชุดวิชา

บังคับ  15  ชุดวิชา

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร            

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ  

30205 คณิตศาสตร์และสถิติ    

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32301 การจัดการการผลิตและปฏิบัติการ            

32302 การจัดการการตลาด     

32303 การจัดการการเงิน

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32401 การวางแผนและควบคุมงานบริหาร           

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   

32415 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ  

32442 การจัดการเชิงกลยุทธ์   

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น         

และเลือก  3  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

32305 การจัดการวัสดุและการจัดซื้อ      

32306 การลงทุน       

32307 การจัดการการขายและการกระจายสินค้า   

32403 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ        

32406 การจัดการสินเชื่อ         

32407 การจัดการธุรกิจต่างประเทศ       

32408 การจัดการธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลีก

32410 การบริหารค่าตอบแทน  

32411 ปัญหาและการวิจัยตลาด            

32413 การจัดการงานขนส่งสินค้า          

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย   

32422 หลักการประกันภัย       

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการจัดการทั่วไป

สำเร็จการศึกษา ปวท.  ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่สาขาวิชาการบัญชี  การธนาคารและธุรกิจการเงิน  การเลขานุการ  การตลาด  การขาย  การโรงแรมและการท่องเที่ยว  หรือ ปวส. ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ หรือทางศิลปศาสตร์ (ภาษาต่างประเทศ)  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3   ชุดวิชา     (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    18   ชุดวิชา   (108  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          15   ชุดวิชา  (90  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก            3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1    ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  22  ชุดวิชา  หรือ  132  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3   ชุดวิชา

10121 อารยธรรมมนุษย์

10131 สังคมมนุษย์

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  18  ชุดวิชา

บังคับ  15  ชุดวิชา

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร            

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ  

30205 คณิตศาสตร์และสถิติ    

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32301 การจัดการการผลิตและปฏิบัติการ            

32302 การจัดการการตลาด     

32303 การจัดการการเงิน

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32401 การวางแผนและควบคุมงานบริหาร           

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   

32415 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ  

32442 การจัดการเชิงกลยุทธ์   

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น         

และเลือก  3  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

32305 การจัดการและวัสดุและการจัดซื้อ            

32306 การลงทุน       

32307 การจัดการการขายและการกระจายสินค้า   

32403 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ        

32406 การจัดการสินเชื่อ         

32407 การจัดการธุรกิจต่างประเทศ       

32408 การจัดการธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลีก

32410 การบริหารค่าตอบแทน  

32411 ปัญหาและการวิจัยตลาด            

32413 การจัดการงานขนส่งสินค้า          

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย   

32422 หลักการประกันภัย       

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการบัญชี_4ปี)

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการบัญชี

สำเร็จการศึกษา ม.3 หรือเทียบเท่า หรือ ม.6 หรือเทียบเท่า หรือ ปวช. มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 5   ชุดวิชา     (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      18   ชุดวิชา   (108  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          15   ชุดวิชา  (90  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก            3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1    ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  24  ชุดวิชา  หรือ  144  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  5  ชุดวิชา

บังคับ  3  ชุดวิชา

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10151 ไทยศึกษา

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

10121 อารยธรรมมนุษย์

10131 สังคมมนุษย์

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  18  ชุดวิชา

บังคับ 15 ชุดวิชา       

30205 คณิตศาสตร์และสถิติ    

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32202 การจัดการการตลาดและการผลิต

32204 การบัญชีขั้นต้น            

32205 การบัญชีขั้นกลาง 2      

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32303 การจัดการการเงิน        

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

32311 การบัญชีต้นทุนและการบัญชีเพื่อการจัดการ           

32314 การบัญชีขั้นสูง            

32320 การบัญชีขั้นกลาง 1      

32321 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี     

32322 การสอบบัญชี การบัญชีภาษีอากร และการวางแผนภาษี        

32424 ประสบการณ์วิชาชีพการบัญชี      

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น         

และเลือก  3  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

32426 การควบคุมคุณภาพและการจัดการสินค้าคงคลัง       

32427 การตรวจสอบภายในและการควบคุมภายใน            

32428 ปัญหาการสอบบัญชี     

32429 การบัญชีรัฐบาล การบัญชีกองทุนและการบัญชีเฉพาะกิจการ  

32431 การอำนวยการวางแผนควบคุมและการงบประมาณ   

32443 การใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทำและการตรวจสอบบัญชี         

32445 การบัญชีระหว่างประเทศ

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการบัญชี

สำเร็จการศึกษาปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง ในสาขาใดสาขาหนึ่งที่ไม่ใช่ทางบริหารธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      18   ชุดวิชา   (108  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          15   ชุดวิชา  (90  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก            3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1    ชุดวิชา       (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  20  ชุดวิชา  หรือ  120  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  18  ชุดวิชา

บังคับ  15  ชุดวิชา

30205 คณิตศาสตร์และสถิติ    

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32202 การจัดการการตลาดและการผลิต

32204 การบัญชีขั้นต้น            

32205 การบัญชีขั้นกลาง 2      

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32303 การจัดการการเงิน        

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

32311 การบัญชีต้นทุนและการบัญชีเพื่อการจัดการ           

32314 การบัญชีขั้นสูง            

32320 การบัญชีขั้นกลาง 1      

32321 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี     

32322 การสอบบัญชี  การบัญชีภาษีอากร  และการวางแผนภาษี      

32424 ประสบการณ์วิชาชีพการบัญชี      

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น         

และเลือก  3  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

32426 การควบคุมคุณภาพและการจัดการสินค้าคงคลัง       

32427 การตรวจสอบภายในและการควบคุมภายใน            

32428 ปัญหาการสอบบัญชี     

32429 การบัญชีรัฐบาล  การบัญชีกองทุนและการบัญชีเฉพาะกิจการ

32431 การอำนวยการวางแผนควบคุมและการงบประมาณ   

32443 การใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทำและตรวจสอบบัญชี  

32445 การบัญชีระหว่างประเทศ

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรี  (4  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการบัญชี

สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. ในสาขาใดสาขาหนึ่งที่ไม่ใช่ทางบริหารธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                  3   ชุดวิชา    (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      18   ชุดวิชา  (108  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          15   ชุดวิชา  (90  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก            3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1    ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  22  ชุดวิชา  หรือ  132  หน่วยกิต

(2)  รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3   ชุดวิชา

10121 อารยธรรมมนุษย์

10131 สังคมมนุษย์

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  18  ชุดวิชา

บังคับ  15  ชุดวิชา

30205 คณิตศาสตร์และสถิติ    

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32202 การจัดการการตลาดและการผลิต

32204 การบัญชีขั้นต้น            

32205 การบัญชีขั้นกลาง 2      

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32303 การจัดการการเงิน        

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

32311 การบัญชีต้นทุนและการบัญชีเพื่อการจัดการ           

32314 การบัญชีขั้นสูง            

32320 การบัญชีขั้นกลาง 1      

32321 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี     

32322 การสอบบัญชี การบัญชีภาษีอากร และการวางแผนภาษี        

32424 ประสบการณ์วิชาชีพการบัญชี      

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น         

และเลือก  3  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

32426 การควบคุมคุณภาพและการจัดการสินค้าคงคลัง       

32427 การตรวจสอบภายในและการควบคุมภายใน            

32428 ปัญหาการสอบบัญชี     

32429 การบัญชีรัฐบาล การบัญชีกองทุน และการบัญชีเฉพาะกิจการ

32431 การอำนวยการวางแผนควบคุมและการงบประมาณ   

32443 การใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทำและตรวจสอบบัญชี  

32445 การบัญชีระหว่างประเทศ

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์_4 ปี)

ระดับปริญญาตรี   (4  ปี)   

แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์       

สำเร็จการศึกษา  .3  หรือเทียบเท่า หรือ ม.6 หรือเทียบเท่า หรือ  ปวช. หรือเทียบเท่า มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 5   ชุดวิชา        (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      16   ชุดวิชา         (96  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          12   ชุดวิชา  (72  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก            4   ชุดวิชา  (24  หน่วยกิต)                         

. หมวดวิชาเลือกเสรี                      3    ชุดวิชา       (18  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  24  ชุดวิชา  หรือ  144  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  5  ชุดวิชา

บังคับ  3  ชุดวิชา

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10151 ไทยศึกษา

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

และเลือก 2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

10103 ทักษะชีวิต

10121 อารยธรรมมนุษย์

10131 สังคมมนุษย์

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10152 ไทยกับสังคมโลก

.   หมวดวิชาเฉพาะ   16   ชุดวิชา

บังคับ  12  ชุดวิชา

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร            

30204 องค์การและการจัดการ  

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32403 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ        

33201 การบริหารราชการไทย  

33202 การคลังและงบประมาณ

33203 เศรษฐศาสตร์เพื่อการบริหารรัฐกิจ

33302 หลักกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการไทย          

33303 นโยบายสาธารณและการวางแผน            

33304 ขอบข่ายการศึกษาและวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์  

33401 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารรัฐกิจ  

80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย

และเลือก  4   ชุดวิชาโดยเลือกเรียน  1  กลุ่มวิชาจากกลุ่มวิชาเฉพาะต่อไปนี้   

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์     

32410 การบริหารค่าตอบแทน  

33410 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์        

33411 การแรงงานสัมพันธ์      

33412 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารการพัฒนา

33420 การบริหารราชการส่วนภูมิภาค     

33421 การบริหารท้องถิ่น        

33422 การบริหารการพัฒนาเมืองและชนบท        

33424 การบริหารการพัฒนาและการพัฒนาการบริหาร

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานทั่วไป  

33432 การบริหารสำนักงาน     

33442 การจัดการเชิงกลยุทธ์ในภาครัฐกิจ

33443 การบริหารการเปลี่ยนแปลง

33444 การบริหารองค์กรภาครัฐ    

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานราชทัณฑ์         

33434 กฎหมายเกี่ยวกับงานราชทัณฑ์    

33435 อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา

33436 การปฏิบัติต่อผู้กระทำความผิด     

33437 การบริหารงานราชทัณฑ์            

 

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานสรรพสามิต       

33438 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บภาษี         

33439 กฎหมายเกี่ยวกับภาษีสรรพสามิต

33440 การบริหารงานสรรพสามิต          

33441 การตรวจสอบและการควบคุมการจัดเก็บภาษี          

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   3   ชุดวิชา*  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

*  นักศึกษาที่มีความประสงค์จะเข้ารับราชการในตำแหน่งปลัดอำเภอ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล  และเจ้าหน้าที่ปกครองส่วนท้องถิ่น  ขอแนะนำให้ลงทะเบียนเรียนชุดวิชา  81427  กฎหมายอาญา  สำหรับรัฐศาสตร์ และชุดวิชา   8428  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพยานหลักฐาน   สำหรับรัฐศาสตร์

ระดับปริญญาตรี   (4  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์

สำเร็จการศึกษา  ปวท.  ในประเภทสาขาวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ หรือ เทียบเท่า มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      16   ชุดวิชา  (96  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          12   ชุดวิชา  (72  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก            4   ชุดวิชา  (24  หน่วยกิต)                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     3    ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  22  ชุดวิชา  หรือ  132  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3   ชุดวิชา

10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

10151 ไทยศึกษา

10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

.   หมวดวิชาแกน   16   ชุดวิชา

บังคับ  12  ชุดวิชา

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร            

30204 องค์การและการจัดการ  

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32403 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ        

33201 การบริหารราชการไทย  

33202 การคลังและงบประมาณ

33203 เศรษฐศาสตร์เพื่อการบริหารรัฐกิจ

33302 หลักกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการไทย          

33303 นโยบายสาธารณะและการวางแผน           

33304 ขอบข่ายการศึกษาและวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์  

33401 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารรัฐกิจ  

80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย

และเลือก  4   ชุดวิชาโดยเลือกเรียน  1  กลุ่มวิชาจากกลุ่มวิชาเฉพาะต่อไปนี้   

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์     

32410 การบริหารค่าตอบแทน  

33410 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์        

33411 การแรงงานสัมพันธ์      

33412 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารการพัฒนา

33420 การบริหารราชการส่วนภูมิภาค     

33421 การบริหารท้องถิ่น        

33422 การบริหารการพัฒนาเมืองและชนบท        

33424 การบริหารการพัฒนาและการพัฒนาการบริหาร

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานทั่วไป  

33432 การบริหารสำนักงาน     

33442 การจัดการเชิงกลยุทธ์ในภาครัฐกิจ

33443 การบริหารการเปลี่ยนแปลง

33444 การบริหารองค์กรภาครัฐ            

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานราชทัณฑ์         

33434 กฎหมายเกี่ยวกับงานราชทัณฑ์    

33435 อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา      

33436 การปฏิบัติต่อผู้กระทำความผิด     

33437 การบริหารงานราชทัณฑ์            

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานสรรพสามิต       

33438 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บภาษี         

33439 กฎหมายเกี่ยวกับภาษีสรรพสามิต

33440 การบริหารงานสรรพสามิต          

33441 การตรวจสอบและการควบคุมการจัดเก็บภาษี          

.   หมวดวิชาเลือกเสรี   3   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

*  นักศึกษาที่มีความประสงค์จะเข้ารับราชการในตำแหน่งปลัดอำเภอ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล  และเจ้าหน้าที่ปกครองส่วนท้องถิ่น  ขอแนะนำให้ลงทะเบียนเรียนชุดวิชา  81427  กฎหมายอาญา  สำหรับรัฐศาสตร์ และชุดวิชา   8428  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพยานหลักฐาน   สำหรับรัฐศาสตร์

ระดับปริญญาตรี   (4  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่าในสาขาอื่น ๆ ที่ไม่ใช่สาขาวิชารัฐศาสตร์  รัฐประศาสนศาสตร์             สังคมศาสตร์ (รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์)  บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี  หรือ ปวส. หรือเทียบเท่าในประเภทวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ หรือ ปวท. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      16   ชุดวิชา  (96  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น

     1)  ชุดวิชาบังคับ          12   ชุดวิชา  (72  หน่วยกิต)

     2)  ชุดวิชาเลือก            4   ชุดวิชา  (24  หน่วยกิต)                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1    ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  18  ชุดวิชา  หรือ  108  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   16   ชุดวิชา

บังคับ  12  ชุดวิชา

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร            

30204 องค์การและการจัดการ  

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32403 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ        

33201 การบริหารราชการไทย  

33202 การคลังและงบประมาณ

33203 เศรษฐศาสตร์เพื่อการบริหารรัฐกิจ

33302 หลักกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการไทย          

33303 นโยบายสาธารณะและการวางแผน           

33304 ขอบข่ายการศึกษาและวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์  

33401 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารรัฐกิจ  

      80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย

      และเลือก  4   ชุดวิชาโดยเลือกเรียน  1  กลุ่มวิชาจากกลุ่มวิชาเฉพาะต่อไปนี้   

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์     

32410 การบริหารค่าตอบแทน  

33410 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์        

33411 การแรงงานสัมพันธ์      

33412 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารการพัฒนา

33420 การบริหารราชการส่วนภูมิภาค     

33421 การบริหารท้องถิ่น        

33422 การบริหารการพัฒนาเมืองและชนบท        

33424 การบริหารการพัฒนาและการพัฒนาการบริหาร

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานทั่วไป  

33432 การบริหารสำนักงาน     

33442 การจัดการเชิงกลยุทธ์ในภาครัฐกิจ

33443 การบริหารการเปลี่ยนแปลง

33444 การบริหารองค์กรภาครัฐ            

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานราชทัณฑ์         

33434 กฎหมายเกี่ยวกับงานทัณฑ์         

33435 อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา      

33436 การปฏิบัติต่อผู้กระทำความผิด     

33437 การบริหารงานราชทัณฑ์            

 

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานสรรพสามิต       

33438 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บภาษี         

33439 กฎหมายเกี่ยวกับภาษีสรรพสามิต

33440 การบริหารงานสรรพสามิต          

33441 การตรวจสอบและการควบคุมการจัดเก็บภาษี          

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

*  นักศึกษาที่มีความประสงค์จะเข้ารับราชการในตำแหน่งปลัดอำเภอ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล  และเจ้าหน้าที่ปกครองส่วนท้องถิ่น  ขอแนะนำให้ลงทะเบียนเรียนชุดวิชา  81427  กฎหมายอาญา  สำหรับรัฐศาสตร์ และชุดวิชา   8428  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพยานหลักฐาน   สำหรับรัฐศาสตร์

 

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการจัดการงานก่อสร้าง_2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2   ปี)   

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการงานก่อสร้าง

สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาช่างก่อสร้าง  ช่างโยธา  ช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม  ช่างสำรวจ  วิศวกรรมการทาง  วิศวกรรมชลประทาน  วิศวกรรมโยธา  หรือ ปวส.  สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม  หรือประกาศนียบัตรการชลประทาน  หรือสำเร็จการศึกษาช่างตรีกรมโยธาธิการ  ช่างตรีจากโรงเรียนช่างรังวัดที่ดิน (กรมที่ดิน) ช่างตรีจากโรงเรียนช่างกลางคืน  หรือปริญญาตรีศิลปบัณฑิต (มัณฑนศิลป์) เฉพาะสาขาวิชาการออกแบบตกแต่งภายใน  หรือปริญญาตรีช่างชลประทานบัณฑิต  หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ หรือสถาปัตยกรรมศาสตร์  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเฉพาะ                       10   ชุดวิชา   (60 หน่วยกิต)

    โดยแบ่งเป็น

    1)  ชุดวิชาบังคับ             9   ชุดวิชา  (54  หน่วยกิต)

    2)  ชุดวิชาเลือก             1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)                         

. หมวดวิชาเลือกเสรี                      1    ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151ไทยศึกษา      

.   หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

บังคับ  9  ชุดวิชา       

30105 การบัญชีและการเงินเพื่องานก่อสร้าง        

30204 องค์การและการจัดการ  

31301 การวางแผนงานก่อสร้าง            

31302 การสำรวจปริมาณและการประมาณราคา    

31303 การจัดการงานสนาม     

31401 การควบคุมและการตรวจงานก่อสร้าง        

31404 เครื่องจักรกลและอุปกรณ์การก่อสร้าง       

31406 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการงานก่อสร้าง            

32308 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์เพื่อการจัดการ        

และเลือก   1   ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้            

31304 ระบบสารสนเทศเพื่องานก่อสร้าง

31403 เทคนิคการก่อสร้างขนาดใหญ่     

31405 การวิเคราะห์โครงการ    

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2   ปี)   

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการงานก่อสร้าง

สำเร็จการศึกษา ปวท. ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ในสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมสำรวจ  สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา  สาขาวิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      13   ชุดวิชา  (78  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1    ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  16  ชุดวิชา  หรือ  96  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   2  ชุดวิชา

10121 อารยธรรมมนุษย์

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ  13  ชุดวิชา

30105 การบัญชีและการเงินเพื่องานก่อสร้าง        

30204 องค์การและการจัดการ  

31301 การวางแผนงานก่อสร้าง            

31302 การสำรวจปริมาณและการประมาณราคา    

31303 การจัดการงานสนาม     

31304 ระบบสารสนเทศเพื่องานก่อสร้าง

31401 การควบคุมและการตรวจงานก่อสร้าง        

31403 เทคนิคการก่อสร้างขนาดใหญ่

31404 เครื่องจักรกลและอุปกรณ์การก่อสร้าง       

31405 การวิเคราะห์โครงการ

31406 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการงานก่อสร้าง

32305 การจัดการวัสดุและการจัดซื้อ      

32308 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์เพื่อการจัดการ        

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการจัดการทั่วไป_2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการทั่วไป         

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี  การตลาด  การเลขานุการ  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  การเงินและการธนาคาร อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจการค้าต่างประเทศ การจัดการงานบุคคล ธุรกิจประกันภัย  ธุรกิจโรงแรม  ธุรกิจสถานพยาบาล  การประชาสัมพันธ์  ธุรกิจหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์  และสาขาเศรษฐศาสตร์วิชาเอกการเงินและการธนาคาร และวิชาเอกบริหารธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้      

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเฉพาะ                     10   ชุดวิชา  (60  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12   ชุดวิชา หรือ  72  หน่วยกิต           

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ  

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32301 การจัดการการผลิตและปฏิบัติการ            

32302 การจัดการการตลาด     

32303 การจัดการการเงิน        

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32415 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ  

32442 การจัดการเชิงกลยุทธ์   

.   หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา*  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

*  ขอแนะนำให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนชุดวิชา  30205  คณิตศาสตร์และสถิติ หรือ 32401  การวางแผนและควบคุมงานบริหาร หรือ  32405  ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ  ในหมวดวิชาเลือกเสรี

  

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการทั่วไป         

สำเร็จการศึกษา ปวส. ทางศิลปศาสตร์ (ภาษาต่างประเทศ)  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    13   ชุดวิชา  (78  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1   ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  17   ชุดวิชา หรือ  102  หน่วยกิต          

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3   ชุดวิชา

10121 อารยธรรมมนุษย์         

10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต     

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   13  ชุดวิชา

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ  

30205 คณิตศาสตร์และสถิติ    

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32301 การจัดการการผลิตและปฏิบัติการ            

32302 การจัดการการตลาด     

32303 การจัดการการเงิน        

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32401 การวางแผนและควบคุมงานบริหาร           

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   

32415 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ  

32442 การจัดการเชิงกลยุทธ์   

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการทั่วไป         

สำเร็จการศึกษา ปวท. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจในสาขาวิชาการบัญชี  การธนาคารและธุรกิจการเงิน  การเลขานุการ  การตลาด   การขาย  การโรงแรมและการท่องเที่ยว  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      12   ชุดวิชา  (72  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  16   ชุดวิชา หรือ  96  หน่วยกิต           

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3  ชุดวิชา

10121 อารยธรรมมนุษย์         

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต    

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   12  ชุดวิชา

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ  

30205 คณิตศาสตร์และสถิติ    

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32301 การจัดการการผลิตและปฏิบัติการ            

32302 การจัดการการตลาด     

32303 การจัดการการเงิน        

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   

32415 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ  

32442 การจัดการเชิงกลยุทธ์   

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

*  ขอแนะนำให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนชุดวิชา  32401 การวางแผนและควบคุมงานบริหาร ในหมวดวิชาเลือกเสรี

     

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการทั่วไป         

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการโรงแรมและการท่องเที่ยว  จากวิทยาลัยชุมชุนภูเก็ต  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 2   ชุดวิชา   (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      15   ชุดวิชา   (90  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         14   ชุดวิชา  (84  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก           1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

. หมวดวิชาเลือกเสรี                      1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  18  ชุดวิชา หรือ  108 หน่วยกิต            

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   2 ชุดวิชา

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต    

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   15 ชุดวิชา

บังคับ  14  ชุดวิชา

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ  

30205 คณิตศาสตร์และสถิติ    

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32301 การจัดการการผลิตและปฏิบัติการ            

32302 การจัดการการตลาด     

32303 การจัดการการเงิน        

32304 การจัดการทรัพยากรมนุษย์        

32401 การวางแผนและควบคุมงานบริหาร

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   

32415 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ  

32442 การจัดการเชิงกลยุทธ์   

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

32305 การจัดการวัสดุและการจัดซื้อ

32306 การลงทุน

32307 การจัดการการขายและการกระจายสินค้า

32403 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ

32406 การจัดการสินเชื่อ

32407 การจัดการธุรกิจต่างประเทศ

32408 การจัดการธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลีก

32410 การบริหารค่าตอบแทน

32411 ปัญหาและการวิจัยตลาด

32413 การจัดการงานขนส่งสินค้า

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย

32422 หลักการประกันภัย

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการบัญชี_2ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการบัญชี 

สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือเทียบเท่า  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการบัญชี  มีโครงสร้างและรายละเอียด

หลักสูตรของดังนี้

(1)   โครงสร้างของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10  ชุดวิชา     (60  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         8   ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก         2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)               

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1    ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  10  ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32205 การบัญชีขั้นกลาง 2      

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32311 การบัญชีต้นทุนและการบัญชีเพื่อการจัดการ           

32314 การบัญชีขั้นสูง            

32321 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี     

32322 การสอบบัญชี การบัญชีภาษีอากรและการวางแผนภาษี         

32424 ประสบการณ์วิชาชีพการบัญชี      

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   

32426 การควบคุมคุณภาพและการจัดการสินค้าคงคลัง       

32427 การตรวจสอบภายในและการควบคุมภายใน            

32428 ปัญหาการสอบบัญชี     

32429 การบัญชีรัฐบาล การบัญชีกองทุนและการบัญชีเฉพาะกิจการ  

32431 การอำนวยการวางแผนควบคุมและการงบประมาณ   

32443 การใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทำและตรวจสอบบัญชี  

32445 การบัญชีระหว่างประเทศ

 

หมายเหตุ  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือเทียบเท่า อนุปริญญาหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการบัญชีที่ประสงค์จะสอบเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต  ควรศึกษาชุดวิชาอีก  2  ชุดวิชา คือ ชุดวิชา 32204 การบัญชีขั้นต้น  และชุดวิชา 32320 การบัญชีขั้นกลาง 1  เพื่อให้มีคุณสมบัติตามที่สภาวิชาชีพบัญชีกำหนด  โดยอาจลงทะเบียนศึกษาเป็นชุดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา และศึกษาเกินโครงสร้างหลักสูตรอีก  1  ชุดวิชา  ทั้งนี้ควรลงทะเบียนก่อนศึกษาชุดวิชาสุดท้ายของหลักสูตร

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ  วิชาเอกการบัญชี 

สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือเทียบเท่า  อนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาใดสาขาหนึ่งทางบริหารธุรกิจที่ไม่ใช่การบัญชี หรือ ปวท. ทางบริหารธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา    (6 หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      12  ชุดวิชา   (72  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         10   ชุดวิชา  (60  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก           2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)                         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1    ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  14  ชุดวิชา  หรือ  84  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

ก.      หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

ข.      หมวดวิชาเฉพาะ  12  ชุดวิชา

บังคับ  10  ชุดวิชา

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32204 การบัญชีขั้นต้น            

32205 การบัญชีขั้นกลาง 2      

32206 สถิติธุรกิจและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ       

32311 การบัญชีต้นทุนและการบัญชีเพื่อการจัดการ           

32314 การบัญชีขั้นสูง

32320 การบัญชีขั้นกลาง 1      

32321 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี     

32322 การสอบบัญชี การบัญชีภาษีอากร และการวางแผนภาษี        

32424 ประสบการณ์วิชาชีพการบัญชี      

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   

32426 การควบคุมคุณภาพและการจัดการสินค้าคงคลัง       

32427 การตรวจสอบภายในและการควบคุมภายใน            

32428 ปัญหาการสอบบัญชี     

32429 การบัญชีรัฐบาล การบัญชีกองทุนและการบัญชีเฉพาะกิจการ  

32431 การอำนวยการวางแผนควบคุมและการงบประมาณ   

32443 การใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดทำและตรวจสอบบัญชี  

32445 การบัญชีระหว่างประเทศ

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการเงินและการธนาคาร_2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2 ปี)      

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการเงินและการธนาคาร            

สำเร็จการศึกษา ปวส. หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจด้านการเงินและการธนาคาร และการบัญชี   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      9   ชุดวิชา  (54  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         7   ชุดวิชา  (42  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก         2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   12   ชุดวิชา  หรือ   72    หน่วยกิต      

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   2  ชุดวิชา

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

40205 กฎหมายธุรกิจ

.   หมวดวิชาเฉพาะ   9   ชุดวิชา

บังคับ   7  ชุดวิชา      

32203 การบัญชีการเงินและการบัญชีเพื่อการจัดการสำหรับนักการเงิน

32303 การจัดการการเงิน

32306 การลงทุน

32308 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์เพื่อการจัดการ

32416 การวางแผน การควบคุม และการวิจัยทางการเงิน

32417 การจัดการและการบัญชีธนาคารพาณิชย์

32418 ประสบการณ์วิชาชีพการเงินและการธนาคาร           

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  ตามความสนใจโดยไม่จำกัดว่าจะต้องเลือกทั้ง  2  ชุดวิชาภายในกลุ่มเดียวกัน

กลุ่มจัดการการเงินและการลงทุน

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

60450 เศรษฐศาสตร์สาธารณะ

กลุ่มจัดการงานธนาคาร

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32421 การศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์โครงการ

กลุ่มการดำเนินการงานประกันภัย

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32422 หลักการประกันภัย

กลุ่มวิชาอื่นๆ

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32404 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2 ปี)     

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการเงินและการธนาคาร            

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจที่ไม่ใช่ด้านการเงินและการธนาคาร  การบัญชี  ธุรกิจบริการ  และภาษาธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           3   ชุดวิชา    (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10   ชุดวิชา    (60  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         8   ชุดวิชา  (48  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก         2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   14   ชุดวิชา  หรือ   84    หน่วยกิต      

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาแกน   3  ชุดวิชา

30202 หลักการบัญชี

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

40205 กฎหมายธุรกิจ

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

บังคับ  8  ชุดวิชา       

32203 การบัญชีการเงินและการบัญชีเพื่อการจัดการสำหรับนักการเงิน

32303 การจัดการการเงิน

32306 การลงทุน

32308 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์เพื่อการจัดการ

32310 ตลาดการเงิน สถาบัน และนโยบายการเงิน

32416 การวางแผน การควบคุม และการวิจัยทางการเงิน

32417 การจัดการและการบัญชีธนาคารพาณิชย์

32418 ประสบการณ์วิชาชีพการเงินและการธนาคาร

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  ตามความสนใจโดยไม่จำกัดว่าจะต้องเลือกทั้ง  2  ชุดวิชาภายในกลุ่มเดียวกัน

กลุ่มจัดการการเงินและการลงทุน

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

60450 เศรษฐศาสตร์สาธารณะ

กลุ่มจัดการงานธนาคาร

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32421 การศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์โครงการ

กลุ่มการดำเนินการงานประกันภัย

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32422 หลักการประกันภัย

กลุ่มวิชาอื่นๆ

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32404 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

      32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

   

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2 ปี)      

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการเงินและการธนาคาร            

สำเร็จการศึกษา ปวท.  สาขาวิชาบริหารธุรกิจด้านการเงินและการธนาคาร และการบัญชี    มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    11   ชุดวิชา  (66  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         9   ชุดวิชา  (54  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก         2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   16   ชุดวิชา  หรือ   96    หน่วยกิต      

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3   ชุดวิชา

10121 อารยธรรมมนุษย์

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาแกน   2   ชุดวิชา

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

40205 กฎหมายธุรกิจ

.   หมวดวิชาเฉพาะ   11  ชุดวิชา

บังคับ  9  ชุดวิชา       

32203 การบัญชีการเงินและการบัญชีเพื่อการจัดการสำหรับนักการเงิน

32303 การจัดการการเงิน

32306 การลงทุน

32308 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์เพื่อการจัดการ

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

32310 ตลาดการเงิน สถาบัน และนโยบายการเงิน

32416 การวางแผน การควบคุมและการวิจัยทางการเงิน

32417 การจัดการและการบัญชีธนาคารพาณิชย์

32418 ประสบการณ์วิชาชีพการเงินและการธนาคาร

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  ตามความสนใจโดยไม่จำกัดว่าจะต้องเลือกทั้ง  2  ชุดวิชาภายในกลุ่มเดียวกัน

กลุ่มจัดการการเงินและการลงทุน

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

60450 เศรษฐศาสตร์สาธารณะ

กลุ่มจัดการงานธนาคาร

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32421 การศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์โครงการ

กลุ่มการดำเนินการงานประกันภัย

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32422 หลักการประกันภัย

กลุ่มวิชาอื่นๆ

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32404 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

 

   

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง  (2  ปี)     

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการเงินและการธนาคาร            

สำเร็จการศึกษา ปวท.  สาขาวิชาบริหารธุรกิจที่ไม่ใช่ด้านการเงินและการธนาคาร การบัญชี ธุรกิจบริการ และภาษาธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    12   ชุดวิชา  (72  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         10   ชุดวิชา  (60  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก           2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   18   ชุดวิชา  หรือ   108   หน่วยกิต      

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   3  ชุดวิชา

10121 อารยธรรมมนุษย์

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา

.   หมวดวิชาแกน   3   ชุดวิชา

30202 หลักการบัญชี

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

40205 กฎหมายธุรกิจ

.   หมวดวิชาเฉพาะ   12  ชุดวิชา

บังคับ 10 ชุดวิชา       

32202 การจัดการการตลาดและการผลิต

32203 การบัญชีการเงินและการบัญชีเพื่อการจัดการสำหรับนักการเงิน

32303 การจัดการการเงิน

32306 การลงทุน

32308 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์เพื่อการจัดการ

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

32310 ตลาดการเงิน สถาบัน และนโยบายการเงิน

32416 การวางแผน การควบคุม และการวิจัยทางการเงิน

32417 การจัดการและการบัญชีธนาคารพาณิชย์

32418 ประสบการณ์วิชาชีพการเงินและการธนาคาร

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  ตามความสนใจโดยไม่จำกัดว่าจะต้องเลือกทั้ง  2  ชุดวิชาภายในกลุ่มเดียวกัน

กลุ่มจัดการการเงินและการลงทุน

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

60450 เศรษฐศาสตร์สาธารณะ

กลุ่มจัดการงานธนาคาร

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32421 การศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์โครงการ

กลุ่มการดำเนินการงานประกันภัย

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32422 หลักการประกันภัย

กลุ่มวิชาอื่นๆ

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32404 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2 ปี)     

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการเงินและการธนาคาร            

สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. สาขาวิชาบริหารธุรกิจด้านธุรกิจบริการ และภาษาธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียด

ของหลักสูตรดังนี้ 

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                           5   ชุดวิชา  (30  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      12   ชุดวิชา  (72  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         10   ชุดวิชา  (60  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก           2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   20   ชุดวิชา  หรือ   120   หน่วยกิต      

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    3   ชุดวิชา

10121 อารยธรรมมนุษย์

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาแกน   5   ชุดวิชา

30202 หลักการบัญชี

30203 การเงินธุรกิจและการภาษีอากร

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

40205 กฎหมายธุรกิจ

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น         

.   หมวดวิชาเฉพาะ   12  ชุดวิชา

บังคับ  10  ชุดวิชา     

32202 การจัดการการตลาดและการผลิต

32203 การบัญชีการเงินและการบัญชีเพื่อการจัดการสำหรับนักการเงิน

32303 การจัดการการเงิน

32306 การลงทุน

32308 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์เพื่อการจัดการ

32309 องค์การและการจัดการการงานบุคคล

32310 ตลาดการเงิน สถาบัน และนโยบายการเงิน

32416 การวางแผน การควบคุมและการวิจัยทางการเงิน

32417 การจัดการและการบัญชีธนาคารพาณิชย์

32418 ประสบการณ์วิชาชีพการเงินและการธนาคาร           

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  ตามความสนใจโดยไม่จำกัดว่าจะต้องเลือกทั้ง  2  ชุดวิชาภายในกลุ่มเดียวกัน

กลุ่มจัดการการเงินและการลงทุน

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

60450 เศรษฐศาสตร์สาธารณะ

กลุ่มจัดการงานธนาคาร

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32421 การศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์โครงการ

กลุ่มการดำเนินการงานประกันภัย

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32422 หลักการประกันภัย

กลุ่มวิชาอื่นๆ

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32404 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

 

  

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง(2 ปี)        

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการเงินและการธนาคาร            

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการโรงแรมและการท่องเที่ยวจากวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต  มีโครงสร้างและรายละเอียด ของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               3   ชุดวิชา  (18  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                         6   ชุดวิชา  (36  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                    12   ชุดวิชา  (72  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         10   ชุดวิชา  (60  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก           2   ชุดวิชา  (12  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   21   ชุดวิชา  หรือ   126    หน่วยกิต     

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    3   ชุดวิชา

10121 อารยธรรมมนุษย์

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาแกน   6   ชุดวิชา

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

30202 หลักการบัญชี

30203 การเงินธุรกิจและการภาษีอากร

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

40205 กฎหมายธุรกิจ

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น         

.   หมวดวิชาเฉพาะ   12   ชุดวิชา

บังคับ  10  ชุดวิชา     

32202 การจัดการการตลาดและการผลิต

32203 การบัญชีการเงินและการบัญชีเพื่อการจัดการสำหรับนักการเงิน

32303 การจัดการการเงิน

32306 การลงทุน

32308 เศรษฐศาสตร์ประยุกต์เพื่อการจัดการ

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

32310 ตลาดการเงิน สถาบัน และนโยบายการเงิน

32416 การวางแผน การควบคุม และการวิจัยทางการเงิน

32417 การจัดการและการบัญชีธนาคารพาณิชย์

32418 ประสบการณ์วิชาชีพการเงินและการธนาคาร

และเลือก  2  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  ตามความสนใจโดยไม่จำกัดว่าจะต้องเลือกทั้ง  2  ชุดวิชาภายในกลุ่มเดียวกัน

กลุ่มจัดการการเงินและการลงทุน

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

60450 เศรษฐศาสตร์สาธารณะ

กลุ่มจัดการงานธนาคาร

32406 การจัดการสินเชื่อ

32419 ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศ

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32421 การศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์โครงการ

กลุ่มการดำเนินการงานประกันภัย

32420 การจัดการการเงินเฉพาะกิจ

32422 หลักการประกันภัย

กลุ่มวิชาอื่นๆ

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32404 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการตลาด_2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการตลาด      

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรืออนุปริญญา  หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการตลาด  การขาย  หรือปริญญาตรีสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือพาณิชยศาสตร์   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้    

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10   ชุดวิชา  (60  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ          9   ชุดวิชา   (54  หน่วยกิต)           

2) ชุดวิชาเลือก          1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)    

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   12   ชุดวิชา หรือ   72  หน่วยกิต         

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

บังคับ   9   ชุดวิชา     

30203 การเงินธุรกิจและการภาษีอากร

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

32302 การจัดการการตลาด

32317 พฤติกรรมผู้บริโภค

32411 ปัญหาและการวิจัยตลาด

32432 การจัดการผลิตภัณฑ์และราคา

32433 การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า

32434 การส่งเสริมการตลาด

32435 ประสบการณ์วิชาชีพการตลาด     

และเลือก   1   ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้            

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32305 การจัดการวัสดุและการจัดซื้อ

32316 การจัดการขายและศิลปะการขาย

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

32408 การจัดการธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลีก

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย

32436 การตลาดระหว่างประเทศ

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ     

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการตลาด      

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรือ ปวท.   หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการบัญชี  การเงินและการธนาคาร     มีโครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตรดังนี้        

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10  ชุดวิชา  (60  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ          9   ชุดวิชา   (54  หน่วยกิต)           

2) ชุดวิชาเลือก          1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)    

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   12   ชุดวิชา หรือ   72  หน่วยกิต         

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

บังคับ  9  ชุดวิชา       

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

32302 การจัดการการตลาด

32317 พฤติกรรมผู้บริโภค

32411 ปัญหาและการวิจัยตลาด

32432 การจัดการผลิตภัณฑ์และราคา

32433 การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า

32434 การส่งเสริมการตลาด

32435 ประสบการณ์วิชาชีพการตลาด

40205 กฎหมายธุรกิจ

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32305 การจัดการวัสดุและการจัดซื้อ

32316 การจัดการขายและศิลปะการขาย

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

32408 การจัดการธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลีก

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย

32436 การตลาดระหว่างประเทศ

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ     

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการตลาด      

สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาธุรกิจบริการ และธุรกิจการค้าต่างประเทศ   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้   

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      11   ชุดวิชา  (66  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ          10   ชุดวิชา   (60  หน่วยกิต)         

2) ชุดวิชาเลือก            1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)             

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   13   ชุดวิชา หรือ   78  หน่วยกิต   

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   11   ชุดวิชา

บังคับ  10  ชุดวิชา     

30203 การเงินธุรกิจและการภาษีอากร

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

32302 การจัดการการตลาด

32317 พฤติกรรมผู้บริโภค

32411 ปัญหาและการวิจัยตลาด

32432 การจัดการผลิตภัณฑ์และราคา

32433 การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า

32434 การส่งเสริมการตลาด

32435 ประสบการณ์วิชาชีพการตลาด

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ     

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32305 การจัดการวัสดุและการจัดซื้อ

32316 การจัดการขายและศิลปะการขาย

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

32408 การจัดการธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลีก

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย

32436 การตลาดระหว่างประเทศ           

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการตลาด      

สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท.  หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาการจัดการ  การบริหารงานบุคคล  การเลขานุการ  การโฆษณา  สารสนเทศและภาษาธุรกิจ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้   

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      12   ชุดวิชา  (72  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ          11   ชุดวิชา   (66  หน่วยกิต)         

2) ชุดวิชาเลือก            1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)              

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   14   ชุดวิชา หรือ   84  หน่วยกิต   

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   12   ชุดวิชา

บังคับ 11 ชุดวิชา       

30202 หลักการบัญชี

30203 การเงินธุรกิจและการภาษีอากร

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

32302 การจัดการการตลาด

32317 พฤติกรรมผู้บริโภค

32411 ปัญหาและการวิจัยตลาด

32432 การจัดการผลิตภัณฑ์และราคา

32433 การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า

32434 การส่งเสริมการตลาด

32435 ประสบการณ์วิชาชีพการตลาด

40205 กฎหมายธุรกิจ

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32305 การจัดการวัสดุและการจัดซื้อ

32316 การจัดการขายและศิลปะการขาย

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

32408 การจัดการธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลีก

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย

32436 การตลาดระหว่างประเทศ

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ     

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการตลาด      

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่บริหารธุรกิจหรือพาณิชยศาสตร์   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้      

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      14   ชุดวิชา   (84  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ          13   ชุดวิชา   (78  หน่วยกิต)         

2) ชุดวิชาเลือก            1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)              

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   16   ชุดวิชา หรือ   96  หน่วยกิต         

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   14   ชุดวิชา

บังคับ  13  ชุดวิชา     

30202 หลักการบัญชี

30203 การเงินธุรกิจและการภาษีอากร

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

32302 การจัดการการตลาด

32317 พฤติกรรมผู้บริโภค

32411 ปัญหาและการวิจัยตลาด

32432 การจัดการผลิตภัณฑ์และราคา

32433 การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า

32434 การส่งเสริมการตลาด

32435 ประสบการณ์วิชาชีพการตลาด

40205 กฎหมายธุรกิจ

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ     

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

และเลือก  1  ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้  

11301 ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ

32305 การจัดการวัสดุและการจัดซื้อ

32316 การจัดการขายและศิลปะการขาย

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

32408 การจัดการธุรกิจขนาดย่อมและการค้าปลีก

32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย

32436 การตลาดระหว่างประเทศ

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการประกันภัยทั่วไป_2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการประกันภัยทั่วไป     

สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง  หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจด้านการเงินและการธนาคาร  การบัญชี  การตลาด  และการจัดการ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้      

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                   10   ชุดวิชา   (60  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   12   ชุดวิชา หรือ   72  หน่วยกิต         

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

32310 ตลาดการเงิน  สถาบัน และนโยบายการเงิน

32315 การจัดการการเงินและการลงทุน

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

32422 หลักการประกันภัย

32437 การประกันวินาศภัย 1

32438 การประกันชีวิต 1

32439 การประกันวินาศภัย 2

32440 การประกันชีวิต 2

32441 ประสบการณ์วิชาชีพประกันภัย    

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา* ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

*  นักศึกษาควรลงทะเบียนเรียนชุดวิชา  11301  ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ  เป็นชุดวิชาเลือกเสรี

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการประกันภัยทั่วไป     

สำเร็จการศึกษา ปวส. หรืออนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง  หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจที่ไม่ใช่ด้านการเงินและการธนาคาร  การบัญชี  การตลาด  และการจัดการ  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา      (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      12   ชุดวิชา    (72  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   14   ชุดวิชา หรือ   84  หน่วยกิต         

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   12   ชุดวิชา

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

32310 ตลาดการเงิน สถาบัน และนโยบายการเงิน

32315 การจัดการการเงินและการลงทุน

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

32422 หลักการประกันภัย

32437 การประกันวินาศภัย

32438 การประกันชีวิต 1

32439 การประกันวินาศภัย 2

32440 การประกันชีวิต 2

32441 ประสบการณ์วิชาชีพประกันภัย

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ     

.   หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

*  นักศึกษาควรลงทะเบียนเรียนชุดวิชา  11301  ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ  เป็นชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการประกันภัยทั่วไป     

สำเร็จการศึกษา ปวท. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้ 

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      14   ชุดวิชา   (84   หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   16   ชุดวิชา หรือ   96  หน่วยกิต         

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   14   ชุดวิชา

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

32202 การจัดการการตลาดและการผลิต

32203 การบัญชีการเงินและการบัญชีเพื่อการจัดการสำหรับนักการเงิน

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

32310 ตลาดการเงิน สถาบัน และนโยบายการเงิน

32315 การจัดการการเงินและการลงทุน

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

32422 หลักการประกันภัย

32437 การประกันวินาศภัย 1

32438 การประกันชีวิต 1

32439 การประกันวินาศภัย 2

32440 การประกันชีวิต 2

32441 ประสบการณ์วิชาชีพประกันภัย

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ     

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

*  นักศึกษาควรลงทะเบียนเรียนชุดวิชา  11301  ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ  เป็นชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการประกันภัยทั่วไป     

สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการโรงแรมและการท่องเที่ยว  จากวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้ 

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      15  ชุดวิชา    (90  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า   17   ชุดวิชา หรือ   102  หน่วยกิต        

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1   ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   15   ชุดวิชา

32201 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่อธุรกิจ

32202 การจัดการการตลาดและการผลิต

32203 การบัญชีการเงินและการบัญชีเพื่อการจัดการสำหรับนักการเงิน

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

32310 ตลาดการเงิน สถาบัน และนโยบายการเงิน

32315 การจัดการการเงินและการลงทุน

32405 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

32422 หลักการประกันภัย

32437 การประกันวินาศภัย 1

32438 การประกันชีวิต 1

32439 การประกันวินาศภัย 2

32440 การประกันชีวิต 2

32441 ประสบการณ์วิชาชีพประกันภัย

41406 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

*  นักศึกษาควรลงทะเบียนเรียนชุดวิชา  11301  ภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ  เป็นชุดวิชาเลือกเสรี

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว_2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)       

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว

สำเร็จการศึกษา ปวส. ในประเภทวิชาหรือสาขาวิชาการท่องเที่ยว  หรือการโรงแรม หรือบริหารธุรกิจ  หรือสำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว หรือสาขาวิชาธุรกิจบริการ  หรือสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาเอกบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้  

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา    (6 หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      10   ชุดวิชา  (60  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ          7   ชุดวิชา   (42  หน่วยกิต)           

2) ชุดวิชาเลือก          3   ชุดวิชา   (18  หน่วยกิต)           

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา  หรือ  72  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   10   ชุดวิชา

บังคับ  7  ชุดวิชา       

11302 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว   

30202 หลักการบัญชี  

32360 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว         

32361 ทรัพยากรการท่องเที่ยวของไทย

32362 กลยุทธ์การตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว            

32363 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการท่องเที่ยว          

32469 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการท่องเที่ยว          

และเลือก  1  กลุ่มชุดวิชาจากกลุ่มชุดวิชาเฉพาะต่อไปนี้      

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจท่องเที่ยว *           

32460 การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว     

32461 การจัดการธุรกิจนำเที่ยว            

32462 การขนส่งผู้โดยสารเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในบริษัทท่องเที่ยว จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในบริษัท

              ท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

* ยังไม่มีกำหนดการเปิดสอน

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว   

32463 การจัดการธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว           

32464 การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว           

      32465 การจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยว จะต้อง

        เข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการจัดประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล

32466 การจัดการธุรกิจการจัดประชุม     

32467 การจัดการธุรกิจการจัดนิทรรศการ            

32468 การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล    

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุม  นิทรรศการ

        และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล  จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุมนิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด                      

       

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)       

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว

สำเร็จการศึกษาปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาวิชาอื่น  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้   

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา  (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      16  ชุดวิชา  (96  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1) ชุดวิชาบังคับ          13   ชุดวิชา   (78  หน่วยกิต)         

2) ชุดวิชาเลือก            3   ชุดวิชา   (18  หน่วยกิต)         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  18  ชุดวิชา  หรือ  108  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   16   ชุดวิชา

บังคับ  13  ชุดวิชา     

11302 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว   

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32302 การจัดการการตลาด

32360 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว         

32361 ทรัพยากรการท่องเที่ยวของไทย

32362 กลยุทธ์การตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว            

32363 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการท่องเที่ยว          

32469 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการท่องเที่ยว

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

96101 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น     

และเลือก  1  กลุ่มชุดวิชาจากกลุ่มชุดวิชาเฉพาะต่อไปนี้      

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจท่องเที่ยว *           

32460 การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว     

32461 การจัดการธุรกิจนำเที่ยว            

32462 การขนส่งผู้โดยสารเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในบริษัทท่องเที่ยว จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในบริษัท

              ท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

* ยังไม่มีกำหนดการเปิดสอน

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว   

32463 การจัดการธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว           

32464 การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว           

      32465 การจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยว จะต้อง

        เข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการจัดประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล

32466 การจัดการธุรกิจการจัดประชุม     

32467 การจัดการธุรกิจการจัดนิทรรศการ            

32468 การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล    

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุม  นิทรรศการ

        และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล  จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุม นิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด                      

       

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี 

 

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)       

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว

 สำเร็จการศึกษา ปวส.  หรือเทียบเท่าสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      16   ชุดวิชา  (96  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น  

1) ชุดวิชาบังคับ          13   ชุดวิชา   (78  หน่วยกิต)         

2) ชุดวิชาเลือก            3   ชุดวิชา   (18  หน่วยกิต)         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  18  ชุดวิชา  หรือ  108  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   16   ชุดวิชา

บังคับ   13  ชุดวิชา    

10171 การใช้ภาษาอังกฤษ

11302 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว   

30201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32302 การจัดการการตลาด

32360 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว         

32361 ทรัพยากรการท่องเที่ยวของไทย

32362 กลยุทธ์การตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว            

32363 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการท่องเที่ยว          

32469 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการท่องเที่ยว          

96101 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

และเลือก  1  กลุ่มชุดวิชาจากกลุ่มชุดวิชาเฉพาะต่อไปนี้      

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจท่องเที่ยว *           

32460 การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว     

      32461 การจัดการธุรกิจนำเที่ยว

32462 การขนส่งผู้โดยสารเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในบริษัทท่องเที่ยว จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในบริษัท

              ท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

* ยังไม่มีกำหนดการเปิดสอน

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว   

32463 การจัดการธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว           

32464 การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว           

      32465 การจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยว จะต้อง

        เข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการจัดประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล

32466 การจัดการธุรกิจการจัดประชุม     

32467 การจัดการธุรกิจการจัดนิทรรศการ            

32468 การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล    

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุม  นิทรรศการ

        และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล  จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุมนิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด                      

       

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)       

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว

สำเร็จการศึกษา ปวส. จากวิทยาลัยชุมชนในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ  ธุรกิจการท่องเที่ยว   และการโรงแรม  อุตสาหกรรมท่องเที่ยว  การตลาด  การบัญชี  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  ภาษาอังกฤษธุรกิจ  และการบริหารงานนันทนาการในสถานประกอบการ   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      13   ชุดวิชา  (78  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น  

1) ชุดวิชาบังคับ          10   ชุดวิชา   (60  หน่วยกิต)         

2) ชุดวิชาเลือก            3   ชุดวิชา   (18  หน่วยกิต)         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                     1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  15  ชุดวิชา  หรือ  90  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   13   ชุดวิชา

บังคับ  10  ชุดวิชา     

10171 การใช้ภาษาอังกฤษ

11302 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว   

30202 หลักการบัญชี  

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32360 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว         

32361 ทรัพยากรการท่องเที่ยวของไทย

32362 กลยุทธ์การตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว            

32363 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการท่องเที่ยว          

32469 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการท่องเที่ยว          

96101 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

และเลือก  1  กลุ่มชุดวิชาจากกลุ่มชุดวิชาเฉพาะต่อไปนี้      

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจท่องเที่ยว *           

32460 การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว     

32461 การจัดการธุรกิจนำเที่ยว            

32462 การขนส่งผู้โดยสารเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในบริษัทท่องเที่ยว จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในบริษัท

              ท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

* ยังไม่มีกำหนดการเปิดสอน

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว   

32463 การจัดการธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว           

32464 การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว           

      32465 การจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยว จะต้อง

        เข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการจัดประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล

32466 การจัดการธุรกิจการจัดประชุม     

32467 การจัดการธุรกิจการจัดนิทรรศการ            

32468 การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล    

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุม  นิทรรศการ

        และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล  จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุมนิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด                      

       

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี)       

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ   วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว

 สำเร็จการศึกษา ปวท. หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาธุรกิจโรงแรม  อุตสาหกรรมท่องเที่ยว  การตลาด  การบัญชี  เลขานุการ  การเงินและการธนาคาร  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  ธุรกิจบริการและการประชาสัมพันธ์   มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้      

(1)    โครงสร้างของหลักสูตร           

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                 1   ชุดวิชา   (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเฉพาะ                      16  ชุดวิชา  (96  หน่วยกิต)

     โดยแบ่งเป็น  

1) ชุดวิชาบังคับ          13   ชุดวิชา   (78  หน่วยกิต)         

2) ชุดวิชาเลือก            3   ชุดวิชา   (18  หน่วยกิต)         

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                    1   ชุดวิชา    (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  18  ชุดวิชา  หรือ  108  หน่วยกิต

(2)    รายละเอียดของหลักสูตร         

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาเฉพาะ   16   ชุดวิชา

บังคับ  13  ชุดวิชา     

10121 อารยธรรมมนุษย์

10141 วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

11302 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว   

30202 หลักการบัญชี  

30204 องค์การและการจัดการ

30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

32360 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว         

32361 ทรัพยากรการท่องเที่ยวของไทย

32362 กลยุทธ์การตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว            

32363 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการท่องเที่ยว          

32469 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการท่องเที่ยว          

60120 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

96101 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

และเลือก  1  กลุ่มชุดวิชาจากกลุ่มชุดวิชาเฉพาะต่อไปนี้      

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจท่องเที่ยว *           

32460 การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว     

32461 การจัดการธุรกิจนำเที่ยว            

32462 การขนส่งผู้โดยสารเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในบริษัทท่องเที่ยว จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในบริษัท

              ท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

* ยังไม่มีกำหนดการเปิดสอน

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว   

32463 การจัดการธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยว           

32464 การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว           

      32465 การจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยว จะต้อง

        เข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยวตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด

กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการจัดประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล

32466 การจัดการธุรกิจการจัดประชุม     

32467 การจัดการธุรกิจการจัดนิทรรศการ            

32468 การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล    

หมายเหตุ  สำหรับนักศึกษาที่มิได้มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุม  นิทรรศการ

        และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล จะต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุมนิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลตามมาตรฐานที่มหาวิทยาลัยกำหนด                       

       

.  หมวดวิชาเลือกเสรี  1  ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตร (วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์_2 ปี)

ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง   (2  ปี)    

แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ   วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์  

สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือสูงกว่าในสาขารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ สังคมศาสตร์ (รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์) บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี หรือปวส. หรือเทียบเท่าในประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ  การบัญชี การตลาด การเลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การเงินและการธนาคาร อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจการค้าต่างประเทศ การจัดการงานบุคคล ธุรกิจประกันภัย  ธุรกิจโรงแรม   ธุรกิจสถานพยาบาล การประชาสัมพันธ์ และธุรกิจหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์  มีโครงสร้างและรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

(1) โครงสร้างของหลักสูตร            

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป               1    ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาแกน                       10    ชุดวิชา   (60  หน่วยกิต)

โดยแบ่งเป็น

1)  ชุดวิชาบังคับ         6   ชุดวิชา  (36  หน่วยกิต)

2)  ชุดวิชาเลือก         4   ชุดวิชา  (24  หน่วยกิต)

.  หมวดวิชาเลือกเสรี                   1   ชุดวิชา     (6  หน่วยกิต)

รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ชุดวิชา หรือ  72  หน่วยกิต            

(2)  รายละเอียดของหลักสูตร

.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   1  ชุดวิชา

10151 ไทยศึกษา     

.   หมวดวิชาแกน   10   ชุดวิชา

บังคับ  6  ชุดวิชา

32309 องค์การและการจัดการงานบุคคล

33201 การบริหารราชการไทย

33202 การคลังและงบประมาณ

33303 นโยบายสาธารณะและการวางแผน

33304 ขอบข่ายการศึกษาและวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์

33401 ประสบการณ์วิชาชีพบริหารรัฐกิจ

และเลือก  4  ชุดวิชาโดยเลือกเรียน  1  กลุ่มวิชาจากกลุ่มวิชาเฉพาะต่อไปนี้    

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์     

32410 การบริหารค่าตอบแทน  

33410 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์        

33411 การแรงงานสัมพันธ์      

33412 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารการพัฒนา

33420 การบริหารราชการส่วนภูมิภาค     

33421 การบริหารท้องถิ่น        

33422 การบริหารการพัฒนาเมืองและชนบท        

33424 การบริหารการพัฒนาและการพัฒนาการบริหาร 

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานทั่วไป  

33432 การบริหารสำนักงาน     

33442 การจัดการเชิงกลยุทธ์ในภาครัฐกิจ

33443 การบริหารการเปลี่ยนแปลง

33444 การบริหารองค์กรภาครัฐ            

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานราชทัณฑ์         

33434 กฎหมายเกี่ยวกับงานราชทัณฑ์    

33435 อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา      

33436 การปฏิบัติต่อผู้กระทำความผิด     

33437 การบริหารงานราชทัณฑ์            

กลุ่มวิชาเฉพาะด้านการบริหารงานสรรพสามิต       

33438 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บภาษี         

33439 กฎหมายเกี่ยวกับภาษีสรรพสามิต

33440 การบริหารงานสรรพสามิต          

33441 การตรวจสอบและการควบคุมการจัดเก็บภาษี          

.  หมวดวิชาเลือกเสรี   1   ชุดวิชา  ให้เลือกจากชุดวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ตามเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี

 

คำอธิบายชุดวิชา

TOP
เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี_1

 

            การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี  นักศึกษาสามารถเลือกศึกษาได้จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย  ยกเว้นชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

            ก.   ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

ข.      ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่น ๆ ในหลักสูตรที่เรียน

ค.      ชุดวิชาที่มีการกำหนดคุณสมบัติและทักษะพื้นฐานไว้โดยเฉพาะ

            ชุดวิชาต่างๆ ที่สาขาวิชาวิทยาการจัดการไม่อนุญาตให้เลือกเป็นชุดวิชาเลือกเสรีตามลักษณะดังกล่าวข้างต้นมี    รายชื่อดังนี้

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ

วิชาเอกการจัดการทั่วไป    4  ปี  และ 2  ปี

 

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  30203  การเงินธุรกิจและการภาษีอากร

19.   ชุดวิชา  32202  การจัดการการตลาดและการผลิต

20.   ชุดวิชา  32204  การบัญชีขั้นต้น

21.   ชุดวิชา  32309  องค์การและการจัดการงานบุคคล

22.   ชุดวิชา  40205  กฎหมายธุรกิจ

23.   ชุดวิชา  41406  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

24.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

25.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

26.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

27.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

28.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

29.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย  และเออร์กอนอมิคส์

30.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

31.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

32.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

33.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

34.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

35.   ชุดวิชา  81416  การบริหารงานบุคคลภาครัฐ

36.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

37.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

38.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

39.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

40.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

41.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

42.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

43.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

44.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

45.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

46.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

47.     ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์  

                             ไร้แรงกด

48. ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์


  

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ 

วิชาเอกการบัญชี

4  ปี  และ  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  13322  การบัญชีและกฎหมายธุรกิจ

3.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

4.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

5.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

6.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

8.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

9.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

10.   ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

11.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

12.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

13.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

14.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

16.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

17.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

18.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

19.   ชุดวิชา  30201  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร*

20.   ชุดวิชา  30202  หลักการบัญชี

21.   ชุดวิชา  30203  การเงินธุรกิจและการภาษีอากร

22.   ชุดวิชา  40205  กฎหมายธุรกิจ

23.   ชุดวิชา  41406  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ*

24.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

25.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

26.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

27.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

28.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

29.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย  และเออร์กอนอมิคส์

30.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

31.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

32.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

33.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

34.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

35.   ชุดวิชา  81416  การบริหารงานบุคคลภาครัฐ*

36.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

37.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

38.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

39.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

40.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

41.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

42.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

43.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

44.   ชุดวิชา  96402  คอมพิวเตอร์กับการบัญชี

45.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

46.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

47.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

48.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์

                           ไร้แรงกด

49.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

หมายเหตุ  * สำหรับนักศึกษาหลักสูตร  2 ปีให้นับชุดวิชาดังกล่าวเป็นชุดวิชาเลือกเสรีได้

                  - สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือเทียบเท่า อนุปริญญาหรือเทียบเท่าใน

                    สาขาวิชาการบัญชีที่ประสงค์จะสอบเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตควรศึกษา

                    ชุดวิชาอีก 2  ชุดวิชา  คือชุดวิชา  32204  การบัญชีขั้นต้น และชุดวิชา

                    32320 การบัญชีขั้นกลาง 1 เพื่อให้มีคุณสมบัติตามที่สภาวิชาชีพบัญชีกำหนด

                    โดยอาจลงทะเบียนศึกษาเป็นชุดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา  และศึกษาเกิน

                    โครงสร้างหลักสูตรอีก 1 ชุดวิชา ทั้งนี้ควรลงทะเบียนศึกษาก่อนศึกษาชุดวิชา

                    สุดท้ายของหลักสูตร

 

 


แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ

    วิชาเอกการตลาด       

2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  30201  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

19.   ชุดวิชา  30205  คณิตศาสตร์และสถิติ

20.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

21.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

22.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

23.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

24.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

25.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์

26.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

27.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

28.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

29.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

30.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

31.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

32.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

33.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

34.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

35.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

36.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

37.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

38.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

39.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

40.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

41.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

42.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์

                           ไร้แรงกด

43.  ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 


แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ

วิชาเอกการประกันภัย

ทั่วไป  2  ปี

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  30201  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

19.   ชุดวิชา  32423  คณิตศาสตร์และสถิติ

20.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

21.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

22.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

23.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

24.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

25.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย  ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์

26.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

27.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

28.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

29.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

30.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

31.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

32.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

33.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

34.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

35.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

36.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

37.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

38.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

39.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

40.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

41.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

42.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์

                            ไร้แรงกด

43.  ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์


TOP
เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเลือกเสรี_2

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาการจัดการ

งานก่อสร้าง

วิชาเอกการจัดการ

    งานก่อสร้าง  2  ปี

และ

แขนงวิชาบริหารธุรกิจ

วิชาเอกการจัดการ

การท่องเที่ยว   2  ปี

 

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

19.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

20.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

21.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

22.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

23.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์

24.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

25.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

26.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

27.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

28.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

29.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

30.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

31.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

32.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

33.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

34.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

35.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

36.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

37.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

38.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

39.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

40.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์

                            ไร้แรงกด

41.  ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 


 

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

   แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ

     วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์

  4     ปี  และ 2  ปี

-    กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

การบริหารงานทั่วไป

-      กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

การบริหารงานราชทัณฑ์

-      กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

การบริหารงานสรรพสามิต

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  33101  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร

19.   ชุดวิชา  41406  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

20.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

21.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

22.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

23.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

24.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

25.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์

26.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

27.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

28.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

29.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

30.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

31.   ชุดวิชา  81416  การบริหารงานบุคคลภาครัฐ

32.   ชุดวิชา  81417  การบริหารและการพัฒนาองค์การ

33.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

34.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

35.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

36.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

37.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

38.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

39.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

40.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

41.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

42.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

43.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

44.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์

                           ไร้แรงกด

45.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 


 

แขนงวิชา/วิชาเอก

ชุดวิชาที่ไม่นับเป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ

   วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์

4  ปี  และ  2  ปี

-    กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

การบริหารทรัพยากรมนุษย์

-    กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

การบริหารการพัฒนา

 

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

18.   ชุดวิชา  33101  หลักรัฐศาสตร์และการบริหาร

19.   ชุดวิชา  41406  ความรู้เบื้องต้นเเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ

20.   ชุดวิชา  51102  การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช

21.   ชุดวิชา  51105  การพยาบาลชุมชมและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

22.   ชุดวิชา  51207  การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

23.   ชุดวิชา  51208  การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

24.   ชุดวิชา  51309  การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์

25.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์

26.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

27.   ชุดวิชา  55311  การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย

28.   ชุดวิชา  71114  การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม

29.   ชุดวิชา  71215  การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร

30.   ชุดวิชา  71332  เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร

31.   ชุดวิชา  81416  การบริหารงานบุคคลภาครัฐ

32.   ชุดวิชา  93438  การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์

33.   ชุดวิชา  93439  การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม

34.   ชุดวิชา  93440  การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ

35.   ชุดวิชา  93441  การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก

36.   ชุดวิชา  93446  การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก

37.   ชุดวิชา  93447  การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

38.   ชุดวิชา  93455  การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช

39.   ชุดวิชา  96401  ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

40.   ชุดวิชา  96408  การจัดการระบบฐานข้อมูล

41.   ชุดวิชา  97403  เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

42.   ชุดวิชา  97404  กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ

43.   ชุดวิชา  97405  กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์

                            ไร้แรงกด

44.   ชุดวิชา  97406  เทคนิคหลังพิมพ์

 


 


TOP
เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนชุดวิชาเกินโครงสร้างหลักสูตร

 

           นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนชุดวิชาหรือรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเกินโครงสร้างหลักสูตรได้ ยกเว้น ชุดวิชาที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้

                1. ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

                2. ชุดวิชา หรือรายวิชาที่มีเนื้อหาและภาคปฏิบัติในการอบรมเข้ม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการไว้เฉพาะสำหรับหลักสูตรนั้นๆ

                3. ชุดวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกับชุดวิชาบังคับอื่นๆ ในหลักสูตรที่เรียน            

ชุดวิชาต่างๆ ที่สาขาวิชาวิทยาการจัดการไม่อนุญาตให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเกินโครงสร้างหลักสูตรตามลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีรายชื่อดังนี้

1.       ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา

2.       ชุดวิชา  16344  การพูดและการแสดงสำหรับวิทยุกระจายเสียง

3.       ชุดวิชา  16423  การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง

4.       ชุดวิชา  16426  การสร้างสรรค์งานโฆษณา

5.       ชุดวิชา  16440  การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์

6.       ชุดวิชา  16441  การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

7.       ชุดวิชา  16445  การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น

8.       ชุดวิชา  16446  การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง

9.       ชุดวิชา  16448  การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น

10.   ชุดวิชา  16449  การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง

11.   ชุดวิชา  16452  การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น

12.   ชุดวิชา  16455  การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา

13.   ชุดวิชา  16457  การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์

14.   ชุดวิชา  16458  การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์

15.   ชุดวิชา  20001  ระบบการเรียนการสอน 

16.   ชุดวิชา  20002  การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก  

17.   ชุดวิชา  27104  วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา  

18.   ชุดวิชา  54107  การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์ 

19.   ชุดวิชา  55307  การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย

20.   ชุดวิชา