|ระบบสารสนเทศปริญญาตรี |หลักสูตรการศึกษา |

 

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์

หลักสูตรระดับปริญญาตรีและต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2564

 

มีหลักสูตร 2 ระดับ 9 หลักสูตร คือ

  ระดับปริญญาตรี
 
1.
หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560-TQF)
 
2.
หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาการจัดการการเกษตร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560-TQF) ประกอบด้วย 4 วิชาเอก คือ
 
- วิชาเอกการจัดการทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม
 
- วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช
 
- วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์
 
- วิชาเอกธุรกิจการเกษตร
 
3.
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต แขนงวิชาสหกรณ์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560-TQF)
     
  ระดับประกาศนียบัตร
 
1.
หลักสูตรประกาศนียบัตรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2562)
 
2.
หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2562)
 
3.
หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2562)
 
4.
หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2562)
 
5.
หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ผลเชิงธุรกิจ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2562)
 
6.
หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตผักเชิงธุรกิจ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2562)
 


e-Book หลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์

ใบแทรก

หมายเหตุ   กำหนดเวลาการเปิดสอนแต่ละหลักสูตรสามารถดูรายละเอียดได้ที่ http://www.stou.ac.th/main/apply.htmll

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร  
Bachelor of Agriculture Program in Agricultural Extension and Development
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
เกษตรศาสตรบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)
  อักษรย่อ กษ.บ. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Agriculture (Agricultural Extension and Development)
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ B.Ag. (Agricultural Extension and Development)
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือประเภทวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือประเภทวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
 
หมายเหตุ   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าที่มิใช่ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือประเภทวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง ให้ศึกษาชุดวิชาเพิ่มเติมในหมวดวิชาเฉพาะ 3 ชุดวิชา คือ 1) ชุดวิชา 90201 การจัดการฟาร์ม 2) ขุดวิชา 90305 การผลิตสัตว์ และ 3) ชุดวิชา 90303 พืชเศรษฐกิจ
       

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาการจัดการการเกษตร  
Bachelor of Agriculture Program in Agricultural Management
วิชาเอกการจัดการทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
เกษตรศาสตรบัณฑิต (การจัดการการเกษตร)
  อักษรย่อ กษ.บ. (การจัดการการเกษตร)
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Agriculture (Agricultural Management)
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ B.Ag. (Agricultural Management)
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่าทางวนศาสตร์ เกษตรศาสตร์ เกษตรกรรม หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือ
 
6.
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางวนศาสตร์ เกษตรศาสตร์ เกษตรกรรม หรือ สาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือ
 
7.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นที่มิใช่ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
 
8.
สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่มิใช่ทางการเกษตร หรือ
 
9.
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่มิใช่ทางการเกษตร
       

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาการจัดการการเกษตร 
Bachelor of Agriculture Program in Agricultural Management
วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
เกษตรศาสตรบัณฑิต (การจัดการการเกษตร)
  อักษรย่อ กษ.บ. (การจัดการการเกษตร)
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Agriculture (Agricultural Management)
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ B.Ag. (Agricultural Management)
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่าทางการเกษตร หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางการเกษตร หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าที่มิใช่ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่มิใช่ทางการเกษตร
       

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาการจัดการการเกษตร
Bachelor of Agriculture Program in Agricultural Management
วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
เกษตรศาสตรบัณฑิต (การจัดการการเกษตร)
  อักษรย่อ กษ.บ. (การจัดการการเกษตร)
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Agriculture (Agricultural Management)
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ B.Ag. (Agricultural Management)
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่าทางการเกษตร หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางการเกษตร หรือเทียบเท่า หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าที่มิใช่ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่มิใช่ทางการเกษตร
       

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาการจัดการการเกษตร  
Bachelor of Agriculture Program in Agricultural Management
วิชาเอกธุรกิจการเกษตร
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
เกษตรศาสตรบัณฑิต (การจัดการการเกษตร)
  อักษรย่อ กษ.บ. (การจัดการการเกษตร)
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Agriculture (Agricultural Management)
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ B.Ag. (Agricultural Management)
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม บัญชี การเงินและการธนาคาร หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางการเกษตร หรือบริหารธุรกิจ/หรือพาณิชยศาสตร์ทุกสาขาวิชา หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่มิใช่ประเภทวิชาเกษตรกรรม บัญชี การเงินและการธนาคาร หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่มิใช่ทางการเกษตร บริหารธุรกิจ/พาณิชยศาสตร์
       

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต แขนงวิชาสหกรณ์ 
Bachelor of Business Administration Program in Co-operatives
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
บริหารธุรกิจบัณฑิต (สหกรณ์)
  อักษรย่อ บธ.บ. (สหกรณ์)
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Business Administration (Co-operatives)
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ B.B..A. (Co-operatives)
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาพณิชยกรรม การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาที่กี่ยวข้องกับบริหารธุรกิจ หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่าที่มิใช่สาชาวิชาพณิชยกรรม การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาที่ไม่เกี่ยวข้องกับบริหารธุรกิจ หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าสาขาวิชาพณิชยกรรม การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์บริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับบริหารธุรกิจ หรือ
 
6.
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มิใช่สาขาวิชาพณิชยกรรม การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาที่ไม่เกี่ยวข้องกับบริหารธุรกิจ
   
       

ระดับประกาศนียบัตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
Certificate Program in Agricultural Extension and Development
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
ประกาศนียบัตรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
  อักษรย่อ ป.ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Certificate in Agricultural Extension and Development
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ Cert. in Agricultural Extension and Development
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
6.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
     

ระดับประกาศนียบัตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์
Certificate Program in Agricultural Extension and Development
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
ประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์
  อักษรย่อ ป.การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Certificate in Cereal and Forage Crop Production Management
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ Cert. in Cereal and Forage Crop Production Management
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
6.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
     

ระดับประกาศนียบัตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม
Certificate Program in Industrial Crop Production Management
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
ประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม
  อักษรย่อ ป.การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Certificate in Industrial Crop Production Management
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ Cert. in Industrial Crop Production Management
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
6.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
     

ระดับประกาศนียบัตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
Certificate Program in Flowering and Ornamental Plant Production Management
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
ประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
  อักษรย่อ ป.การจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Certificate in Flowering and Ornamental Plant Production Management
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ Cert. in Flowering and Ornamental Plant Production Management
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
6.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
     

ระดับประกาศนียบัตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ผลเชิงธุรกิจ
Certificate Program in Fruit Production Management
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
ประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตไม้ผลเชิงธุรกิจ
  อักษรย่อ ป.การจัดการการผลิตไม้ผลเชิงธุรกิจ
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Certificate in Fruit Production Management
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ Cert. in Fruit Production Management
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
6.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
     

ระดับประกาศนียบัตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตผักเชิงธุรกิจ
Certificate Program in Vegetables Production Management
  ชื่อปริญญา
 
ชื่อเต็ม
ประกาศนียบัตรการจัดการการผลิตผักเชิงธุรกิจ
  อักษรย่อ ป.การจัดการการผลิตผักเชิงธุรกิจ
  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Certificate in Vegetables Production Management
  อักษรย่อภาษาอังกฤษ Cert. in Vegetables Production Management
   
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
1.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
2.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
 
3.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
 
4.
สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
5.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
 
6.
สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
     

จำนวนผู้เยี่ยมชม : 64987 คน

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ศูนย์สารสนเทศ โทร. 0 2504 7788

ควรใช้ความละเอียดหน้าจอที่ 1024 by 768 pixels และ Internet Explorer version 5.5 + ขึ้นไป
จัดทำข้อมูลโดย ฝ่ายพัฒนาหลักสูตรและการสอน สำนักวิชาการ
จัดทำระบบโดย คณะทำงานบริหารสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Last updated: 10-March-2021; 10:37 AM
© 2003 Sukhothai Thammathirat Open University. All rights reserved.