มสธ.
หน้าแรก
คุณสมบัติผู้สมัคร
โครงสร้างหลักสูตรการศึกษา
โปรแกรมการลงทะเบียนเรียน
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
สาขาวิชาอื่นๆ


      
  สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์  ให้การศึกษาแก่ผู้ปฏิบัติงานในอาชีพการเกษตรและอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและสหกรณ์ ประชาชนทั่วไปที่ต้องการแสวงหาความรู้ ความสามารถ ตลอดจนผู้ต้องการเพิ่มวิทยฐานะในการปฏิบัติงานทางด้านส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม การจัดการการผลิตพืช การจัดการการผลิตสัตว์ สหกรณ์ และธุรกิจการเกษตร โดยยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ ได้เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี (4 ปี) และปริญญาตรีต่อเนื่อง (2 ปี) ใน 4 แขนงวิชา คือ

        1. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร  เน้นการพัฒนาบุคลากรซึ่งกำลังปฏิบัติงานด้านส่งเสริมการเกษตรและการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม และสายงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเกษตรและการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม ให้มีความรู้ความสามารถทางงานส่งเสริม การเกษตรและการป่าไม้และสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เพื่อนำไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและใช้ในชีวิตประจำวัน
             1.1 วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 4 ปี
             1.2 วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 2 ปี
             1.3 วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม 2 ปี

        2. แขนงวิชาสหกรณ์  เน้นการพัฒนาบุคลากรซึ่งกำลังปฏิบัติงานด้านสหกรณ์ และสายงานที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์ให้มีความรู้ ความสามารถทางงานสหกรณ์ เพื่อนำไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและใช้ในชีวิตประจำวัน เปิดสอนวิชาเอกต่างๆ ดังนี้
             2.1 วิชาเอกสหกรณ์ 4 ปี
             2.2 วิชาเอกสหกรณ์ 2 ปี

        3. แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  เน้นการพัฒนาบุคลากรซึ่งกำลังปฏิบัติงานด้านการเกษตรและสายงานที่เกี่ยวข้องกับ การเกษตร ให้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ทางด้านการจัดการผลิตทางการเกษตร เพื่อนำไปใช้ในการ พัฒนาอาชีพการเกษตร การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและใช้ในชีวิตประจำวัน เปิดสอนวิชาเอกต่างๆ ดังนี้
             3.1 วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช 2 ปี
             3.2 วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์ 2 ป
ี   แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มวิชาเฉพาะ
                   (1) กลุ่มวิชาเฉพาะส่งเสริมการเกษตร
                   (2) กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการเกษตร
                   (3) กลุ่มวิชาเฉพาะสหกรณ์
                   (4) กลุ่มวิชาเฉพาะการศึกษา

         4. แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร  เน้นการพัฒนาบุคลากรซึ่งกำลังปฏิบัติงานด้านการจัดการธุรกิจสินค้าเกษตรและสายงาน ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการเกษตรให้มีความรู้ความสามารถในด้านการจัดการการผลิต การแปรรูป การจัดจำหน่ายและการบริการ ทางด้านสินค้าเกษตร เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เปิดสอน 1 วิชาเอก คือ
               - วิชาเอกธุรกิจการเกษตร 2 ปี

         สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
              1) เพื่อผลิตบัณฑิตและพัฒนากำลังคนทางด้านส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม การจัดการการผลิตพืช การจัดการการผลิตสัตว์ สหกรณ์ และธุรกิจการเกษตร
              2) เพื่อส่งเสริมการวิจัยและค้นคว้าทางด้านส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม การจัดการการผลิตพืช การจัดการการผลิตสัตว์ สหกรณ์ และธุรกิจการเกษตร
              3) เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม การจัดการการผลิตพืช การจัดการการผลิตสัตว์ สหกรณ์ และธุรกิจการเกษตร แก่สังคมให้กว้างขวางยิ่งขึ้น

         ผู้ที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์  จะสามารถประกอบอาชีพอิสระ อาทิ ทำการเกษตร ประกอบธุรกิจการเกษตรอื่นๆ รวมทั้งทำงานในหน่วยงานภาครัฐ เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง มหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงพาณิชย์ รวมทั้งทำงานในหน่วยงานภาคเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจ เช่น ทำงานในบริษัทประกอบธุรกิจการเกษตรและสหกรณ์ หรือ จัดการทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม ธนาคาร มูลนิธิที่เกี่ยวข้อง และสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ

บนสุด/top


แขนงวิชา/วิชาเอก คุณสมบัติของผู้สมัคร

หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
  แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร (901)
  • วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 4 ปี (90134)
    ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้

    1. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่า และประกอบอาชีพ
       
    มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากสำเร็จการศึกษา หรือ
    2. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่า โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า
        
    25 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือ
    3.
    สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่า  และผ่านการอบรม
         หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
    4. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า หรือ
    5. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา หรือ
    6. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพนักงานข้าวจัตวา จากโรงเรียนพนักงานข้าวจัตวา

        กรมการข้าว หรือ

    7. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ ของโรงเรียนสัตวแพทย์

        กรมปศุสัตว์ ฉบับก่อนปีการศึกษา 2519 (หลักสูตร 1 ปี 6 เดือน)
 
  แขนงวิชาสหกรณ์ (902)
  • วิชาเอกสหกรณ์ 4 ปี (90214)
    ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้

    1. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่า และประกอบอาชีพ
         มาแล้วไม่
    น้อยกว่า 5 ปี หลังจากสำเร็จการศึกษา หรือ
    2. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่า โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า
         25 ปีบริบูรณ์ ในวันเปิดภาคการศึกษาที่สมัคร หรือ
    3. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่า หรือเทียบเท่า
        และผ่านการอบรมหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
    4. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า หรือ
    5. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา หรือ
    6. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพนักงานข้าวจัตวา จากโรงเรียนพนักงานข้าวจัตวา
        กรมการข้าว หรือ
    7. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาสหกรณ์จากสถาบันการศึกษาทางสหกรณ์
        กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือ
    8. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ ของโรงเรียนสัตวแพทย์ กรมปศุสัตว์
         ฉบับก่อนปีการศึกษา 2519 (หลักสูตร 1 ปี 6 เดือน)

หลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2 ปี


  แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร (901)
  • วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 2 ปี (90132)


    ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้

    1. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเกษตรกรรม หรือ

    2. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาอื่น ๆ

         ที่มิใช่
    สาขาวิชาเกษตรกรรม เช่น ช่างยนต์ ช่างก่อสร้าง ช่างสำรวจ ช่างกล

         ช่างภาพ เป็นต้น หรือ

    3. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง(ป.กศ. สูง) วิชาเอกเกษตรกรรม
        หรือวิชาเอกสหกรณ์ หรือ

    4. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ. สูง) วิชาเอกวิทยาศาสตร์
        หรือวิชาเอกอุตสาหกรรมศิลป์ หรือ

    5. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ. สูง) วิชาโทเกษตรกรรม
        หรือ
    6. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) สาขาวิชาเกษตรกรรม หรือ
        (ผู้สมัครที่มีคุณสมบัติ ข้อ 1 - 6 ต้องแนบสำเนาวุฒิการศึกษาที่ระบุสาขาวิชา หรือ
        วิชาเอก ประกอบการสมัครด้วย  จำนวน 2 ฉบับ)
    7. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรประโยคครูมัธยมเกษตรกรรม (ป.ม.ก.) หรือ
    8. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จากวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต หรือ
    9. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ จากโรงเรียนป่าไม้แพร่ หรือ
    10. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรการชลประทาน จากโรงเรียนชลประทาน หรือ
    11. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาช่างตรี จากโรงเรียนช่างรังวัดที่ดิน กรมที่ดิน หรือ
    12. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ของโรงเรียนสัตวแพทย์ กรมปศุสัตว์
          ฉบับปีการศึกษา 2519 (หลักสูตร 2 ปี) หรือ

    13. สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาในสาขาวิชาเกษตรกรรม หรือ
    14. สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาในสาขาอื่น ๆ ที่มิใช่สาขาวิชาเกษตรกรรม หรือ
    15. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีในสาขาเกษตรศาสตร์ เช่น
           วท.บ. (เกษตรศาสตร์)                   วท.บ.
    (ประมง)
           วท.บ. (วนศาสตร์)                         วท.บ. (ศึกษาศาสตร์เกษตร)
           วท.บ. (วิทยาศาสตร์การอาหาร)     วท.บ. (อุตสาหกรรมเกษตร)
           วท.บ. (บริหารธุรกิจเกษตร)           วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตพืช)
           วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว์)     วท.บ. (เทคโนโลยีการเกษตร)
           ศส.บ. (เกษตร)                              ค.บ.
    (เกษตรศาสตร์)
           ทษ.บ. (เทคโนโลยีทางพืช)            ทษ.บ. (เทคโนโลยีทางสัตว์) หรือ

    16. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีในสาขาอื่น ๆ
          (สำหรับผู้สมัครที่มีคุณสมบัติ ตามข้อ 2,4,5,10,11,14 และ 16 ต้องศึกษาชุดวิชา
      เพิ่มอีก 3 ชุดวิชา ดังนั้นจะต้องใช้เวลาศึกษาทั้งหมดตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 2 ปีครึ่ง)
 
  แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร (901)
  • วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม 2 ปี (90142)
    ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้

    1. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ หรือ

    2. สำเร็จการศึกษาอนุปริญญาทางวนศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ หรือเทียบเท่า หรือ
    3. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
        ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค
    (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่า
        ทางด้านเกษตรกรรม หรือ

    4. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางวนศาสตร์ หรือ
    5. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านเกษตรศาสตร์ หรือเทียบเท่า หรือ
    6. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือ
    7. สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ

        ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือ ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า
        ในสาขาอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ทางการเกษตร


  แขนงวิชาสหกรณ์ (902)
  • วิชาเอกสหกรณ์ 2 ปี (90212)
              ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้
    1. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือ
    2. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ทุกสาขาวิชา หรือ

    3. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง(ป.กศ. สูง) ทุกวิชาเอก หรือ
    4. สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า หรือ

    5. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ ของโรงเรียนสัตวแพทย์ กรมปศุสัตว์

         ฉบับปีการศึกษา 2519 (หลักสูตร 2 ปี) หรือ

    6. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทุกสาขา
  แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (903)
  • วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช 2 ปี (90312)
              ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้
    1. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
    2. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
    3. สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ

    4. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านการเกษตร หรือเทียบเท่า หรือ

    5. สำเร็จการศึกษา ปวส. ปวท. อนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า
        ในสาขาวิชาอื่น
    ที่ไม่ใช่ทาง การเกษตร

  แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (903)
  • วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์ 2 ปี (90322) แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มวิชาเฉพาะ
    - กลุ่มวิชาเฉพาะส่งเสริมการเกษตร (1)
    - กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการเกษตร (2)
    - กลุ่มวิชาเฉพาะสหกรณ์ (3)
    - กลุ่มวิชาเฉพาะการศึกษา (4)   

       ให้ผู้สมัครวิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์ 2 ปี   ระบุกลุ่มวิชาเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่ต้องการ ลงในใบสมัครและใบขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา (มสธ.1) ด้วย มิฉะนั้นจะทำให้การเป็นนักศึกษาของท่านไม่สมบูรณ์

              ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้
    1. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
    2. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
    3. สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือ
    4. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านการเกษตร หรือเทียบเท่า หรือ

    5. สำเร็จการศึกษา ปวส. ปวท. อนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า
        ในสาขาวิชาอื่นที่ไม่ใช่ทางการเกษตร

  แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร (904)
  • วิชาเอกธุรกิจการเกษตร 2 ปี (90412)
               ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้
    1. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม
        บัญชี การเงินและการธนาคาร หรือ

    2. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม
        บัญชี การเงินและการธนาคาร หรือ

    3. สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า ประเภทวิชาเกษตรกรรม
        บัญชี การเงินและการธนาคาร หรือ

    4. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านการเกษตร หรือบริหารธุรกิจ หรือ

        พาณิชยศาสตร์
    หรือ
    5. สำเร็จการศึกษา ปวส. ปวท. อนุปริญญา ในสาขาวิชาอื่นที่ไม่ใช่ทางการเกษตร
        บัญชี การเงินและการธนาคาร
    6. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นที่ไม่ใช่ทางการเกษตร
        บริหารธุรกิจ หรือพาณิชยศาสตร์

บนสุด/top   


หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร (901)
   วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 4 ปี (90134)
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาแกน 5 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 13 ชุดวิชา
ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 24 ชุดวิชา หรือ 144 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5 ชุดวิชา
    - บังคับ 4 ชุดวิชา

  • 10103 ทักษะชีวิต
  • 10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
  • 10151 ไทยศึกษา
  • 10152 ไทยกับสังคมโลก
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
  • 10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

    ข. หมวดวิชาแกน 5 ชุดวิชา
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90303 พืชเศรษฐกิจ
  • 90305 การผลิตสัตว์
  • 90406 ดิน นํ้า และปุ๋ย
  • 90407 การพัฒนาชนบท

    ค. หมวดวิชาเฉพาะ 13 ชุดวิชา
    - บังคับ 11 ชุดวิชา
  • 91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร
  • 91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร
  • 91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร
  • 91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร
  • 91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ 
  • 91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร
  • 93335 วิทยาศาสตร์การผลิตพืช
  • 93343 หลักโภชนศาสตร์และอาหารสัตว์
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

    - และเลือกอีก 2 ชุดวิชา โดยเน้นกลุ่มชุดวิชาเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งทั้ง 2 ชุดวิชา หรือถ้าไม่เน้นกลุ่มชุดวิชาเฉพาะสามารถเลือก
      ชุดวิชาคละกันได้ในกลุ่มวิชาเฉพาะที่ต่างกันดังต่อไปนี้

    กลุ่มวิชาเฉพาะส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม
  • 91324 หลักการส่งเสริมการป่าไม้เพื่อสิ่งแวดล้อม
  • 91325 นิเวศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
  • 91427 การป่าไม้ชุมชน
  • 91428 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม

    กลุ่มวิชาเฉพาะสหกรณ์
  • 92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์
  • 92217 ธนกิจและบัญชีสหกรณ์เพื่อการจัดการ
  • 92219 สหกรณ์การขาย การซื้อ และการบริการ
  • 92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์
  • 92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป

    กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการการผลิตพืช
  • 93336 การจัดการศัตรูพืช *
  • 93337 การปรับปรุงพันธุ์พืชและการขยายพันธุ์พืช
  • 93456 การจัดการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์
  • 93457 การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม
  • 93458 การจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
  • 93459 การจัดการการผลิตไม้ผล และผักเชิงธุรกิจ

    กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการการผลิตสัตว์
  • 93344 วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์
  • 93345 การปรับปรุงพันธุ์และการสืบพันธุ์สัตว์

    กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการเกษตร
  • 94330 การจัดการผลิตผลและการแปรรูปผลิตผลเกษตร
  • 94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

    ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
       เลือก 1 ชุดวิชาจากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรียกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือกเป็น
       ชุดวิชาเลือกเสรี โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาแล้ว
    หมายเหตุ  * นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนชุดวิชา 93336 การจัดการศัตรูพืช แล้ว ห้ามลงทะเบียนเรียน
                     ชุดวิชา 93257 ศัตรูพืชเบื้องต้นเป็นชุดวิชาเลือกเสรี



แขนงวิชาสหกรณ์ (902)
   วิชาเอกสหกรณ์ 4 ปี (90214)
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาแกน 8 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 8 ชุดวิชา
ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 3 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 24 ชุดวิชา หรือ 144 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5 ชุดวิชา
    - บังคับ 4 ชุดวิชา

  • 10103 ทักษะชีวิต
  • 10131 สังคมมนุษย์
  • 10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
  • 10151 ไทยศึกษา
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
  • 10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

    ข. หมวดวิชาแกน 8 ชุดวิชา
  • 32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย
  • 40103 กฎหมายเกษตร
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90202 การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
  • 90303 พืชเศรษฐกิจ
  • 90305 การผลิตสัตว์
  • 90406 ดิน นํ้า และปุ๋ย
  • 90407 การพัฒนาชนบท

    ค. หมวดวิชาเฉพาะ 8 ชุดวิชา
  • 60370 เศรษฐศาสตร์เกษตรและสหกรณ์
  • 91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ 
  • 92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์
  • 92217 ธนกิจและบัญชีสหกรณ์เพื่อการจัดการ
  • 92219 สหกรณ์การขาย การซื้อ และการบริการ
  • 92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์
  • 92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป
  • 92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

    ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 3 ชุดวิชา
         เลือก 3 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือกเป็นชุดวิชาเลือกเสรี  
  • โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาแล้ว
         (แนะนำให้นักศึกษาเลือก ชุดวิชา 92422 สหกรณ์เปรียบเทียบ และชุดวิชาอื่น ๆ อีก 2 ชุดวิชา)



หลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2 ปี
แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร (901)
   วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 2 ปี (90132)
     1. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) อนุปริญญาในสาขาวิชา

         สาขาวิชาเกษตรกรรม ประกาศนียบัตรครูมัธยมเกษตรกรรม ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) วิชาเอกเกษตรกรรม หรือ
         วิชาเอกสหกรณ์ ประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ของโรงเรียนป่าไม้แพร่ ประกาศนียบัตรเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำของวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต 
         ประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ของโรงเรียนสัตวแพทย์ กรมปศุสัตว์ ฉบับปีการศึกษา 2519 (หลักสูตร 2 ปี)
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาแกน 2 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 8 ชุดวิชา
ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ชุดวิชา หรือ 72 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาแกน 2 ชุดวิชา
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90407 การพัฒนาชนบท

    ค. หมวดวิชาเฉพาะ 8 ชุดวิชา
  • 91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร
  • 91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร
  • 91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร
  • 91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ 
  • 91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

    ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
        เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือก
        เป็นชุดวิชาเลือกเสรี โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียน
        เป็นนักศึกษาแล้ว

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร (901)
   วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 2 ปี (90132)
   2. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีในสาขาอื่นที่ไม่ใช่ทางด้านวิทยาศาสตร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) อนุปริญญาใน

       สาขาวิชาอื่นที่มิใช่ด้านเกษตรกรรม ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ. สูง) วิชาเอกวิทยาศาสตร์ วิชาเอกอุตสาหกรรมศิลป์
       วิชาโทเกษตรกรรม ประกาศนียบัตรการชลประทานของโรงเรียนชลประทาน ประกาศนียบัตรวิชาช่างตรีของโรงเรียนช่างรังวัดที่ดิน
       กรมที่ดิน
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาแกน 5 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 8 ชุดวิชา
ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 15 ชุดวิชา หรือ 90 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาแกน 5 ชุดวิชา
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90303 พืชเศรษฐกิจ
  • 90305 การผลิตสัตว์
  • 90406 ดิน นํ้า และปุ๋ย
  • 90407 การพัฒนาชนบท

    ค. หมวดวิชาเฉพาะ 8 ชุดวิชา
  • 91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร
  • 91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร
  • 91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร
  • 91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ 
  • 91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

    ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
        เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี   ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือกเป็น
        ชุดวิชาเลือกเสรี โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียน
        เป็นนักศึกษาแล้ว

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร (901)
   วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม 2 ปี (90142)
   1. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ อนุปริญญาทางวนศาสตร์หรือเกษตรศาสตร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

       (ปวส.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าด้านเกษตรกรรม ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า ทางวนศาสตร์หรือเกษตรศาสตร์ หรือเทียบเท่า
       หรือปริญญาตรีสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาแกน 1 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ชุดวิชา หรือ 72 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาแกน 1 ชุดวิชา
  • 90407 การพัฒนาชนบท

    ค. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา                                                                                                                            
    - บังคับ 8 ชุดวิชา
  • 91324 หลักการส่งเสริมการป่าไม้เพื่อสิ่งแวดล้อม
  • 91325 นิเวศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
  • 91357 พื้นฐานความรู้สิ่งแวดล้อม
  • 91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร
  • 91427 การป่าไม้ชุมชน
  • 91428 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม
  • 91458 การจัดการสิ่งแวดล้อมป่าไม้ *
  • 91459 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม 
    - เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร
    - และเลือกอีก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร
  • 91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร
หมายเหตุ  * ชุดวิชา 91458 การจัดการสิ่งแวดล้อมป่าไม้ เป็นชุดวิชาที่นักศึกษาต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติ
                 ในวันและสถานที่ที่มหาวิทยาลัยกำหนด

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร (901)
   วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม 2 ปี (90142)
    2. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือ อนุปริญญา

        หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาอื่น ๆ ที่ไม่ใช่การเกษตร
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาแกน 4 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 15 ชุดวิชา หรือ 90 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาแกน 4 ชุดวิชา
  • 90303 พืชเศรษฐกิจ
  • 90305 การผลิตสัตว์
  • 90406 ดิน นํ้า และปุ๋ย
  • 90407 การพัฒนาชนบท

    ค. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา                                                                                                                                       
    - บังคับ 8 ชุดวิชา
  • 91324 หลักการส่งเสริมการป่าไม้เพื่อสิ่งแวดล้อม
  • 91325 นิเวศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
  • 91357 พื้นฐานความรู้สิ่งแวดล้อม
  • 91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร
  • 91427 การป่าไม้ชุมชน
  • 91428 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม
  • 91458 การจัดการสิ่งแวดล้อมป่าไม้
  • *
  • 91459 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม 
    - เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร
  • 91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร
หมายเหตุ  * ชุดวิชา 91458 การจัดการสิ่งแวดล้อมป่าไม้ เป็นชุดวิชาที่นักศึกษาต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติ
                  ในวันและสถานที่ที่มหาวิทยาลัยกำหนด


แขนงวิชาสหกรณ์ (902)
   วิชาเอกสหกรณ์ 2 ปี (90212)
    1. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)

       ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ. สูง) อนุปริญญาหรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา ประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ของโรงเรียน     
       สัตวแพทย ์
กรมปศุสัตว์ และปริญญาตรีสาขาต่าง ยกเว้นทางด้านวิทยาศาสตร์ หรือทางด้านเกษตรศาสตร์
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาแกน 4 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 5 ชุดวิชา
ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ชุดวิชา หรือ 72 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2 ชุดวิชา
  • 10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาแกน 4 ชุดวิชา
  • 32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย
  • 40103 กฎหมายเกษตร
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90407 การพัฒนาชนบท

    ค. หมวดวิชาเฉพาะ 5 ชุดวิชา
  • 91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์  
  • 92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์
  • 92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์
  • 92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป
  • 92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

    ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
        เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือก
        เป็นชุดวิชาเลือกเสรี
    โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียน
        เป็นนักศึกษาแล้ว
         (แนะนำให้นักศึกษาเลือก ชุดวิชา 92422 สหกรณ์เปรียบเทียบ)


แขนงวิชาสหกรณ์ (902)
   วิชาเอกสหกรณ์ 2 ปี (90212)
    2. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์ หรือทางด้านเกษตรศาสตร์
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาแกน 4 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 6 ชุดวิชา
ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ชุดวิชา หรือ 72 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาแกน 4 ชุดวิชา
  • 32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย
  • 40103 กฎหมายเกษตร
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90407 การพัฒนาชนบท

    ค. หมวดวิชาเฉพาะ 6 ชุดวิชา
  • 60370 เศรษฐศาสตร์เกษตรและสหกรณ์
  • 91416 ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ 
  • 92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์
  • 92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์
  • 92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป
  • 92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

    ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
    เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือกเป็นชุดวิชาเลือกเสรี โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาแล้ว
          (แนะนำให้นักศึกษาเลือก ชุดวิชา 92422 สหกรณ์เปรียบเทียบ)

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (903)
วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช 2 ปี (90312)
    1. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือ อนุปริญญา หรือเทียบเท่า

       ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือปริญญาตรีทางด้านการเกษตร
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ชุดวิชา หรือ 72 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
    - บังคับ 8 ชุดวิชา
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 93335 วิทยาศาสตร์การผลิตพืช
  • 93337 การปรับปรุงพันธุ์พืชและการขยายพันธุ์พืช
  • 93352 หลักการจัดการการผลิตพืช
  • 93353 การจัดการการผลิตพืช
  • 93442 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการผลิตพืช 
  • 93454 สารสนเทศเพื่อการจัดการการผลิตพืช
  • 93455 การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช *
    และ เลือก 2 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 93456 การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์
  • 93457 การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม
  • 93458 การจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
  • 93459 การจัดการการผลิตไม้ผลและผักเชิงธุรกิจ

    ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
        เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือก
        เป็นชุดวิชาเลือกเสรี
    โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียน
        เป็นนักศึกษาแล้ว
          หมายเหตุ  * ชุดวิชา 93455 การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช เป็นชุดวิชาที่นักศึกษา
                           ต้องเข้ารับการฝึกในวันและสถานทิ่
ที่มหาวิทยาลัยกำหนด

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (903)
   วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช 2 ปี (90312)
    2. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา

        หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า ในสาขาอื่นที่ไม่ใช่การเกษตร
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาเฉพาะ 13 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 15 ชุดวิชา หรือ 90 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
     ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาเฉพาะ 13 ชุดวิชา
    - บังคับ 11 ชุดวิชา
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90406 ดิน น้ำ และปุ๋ย
  • 93256 การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะการผลิตพืช*
  • 93257 ศัตรูพืชเบี้องต้น **
  • 93335 วิทยาศาสตร์การผลิตพืช
  • 93337 การปรับปรุงพันธุ์พืชและการขยายพันธุ์พืช
  • 93352 หลักการจัดการการผลิตพืช
  • 93353 การจัดการผลผลิตพืช
  • 93442 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการผลิตพืช 
  • 93454 สารสนเทศเพื่อการจัดการการผลิตพืช
  • 93455 การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช *
    - และ เลือก 2 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 93456 การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์
  • 93457 การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม
  • 93458 การจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
  • 93459 การจัดการการผลิตไม้ผลและผักเชิงธุรกิจ                                                                                                                 

    ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา   
       เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัย ยกเว้น ชุดวิชาต่อไปนี้
    1.   ชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพของทุกสาขาวิชา
    2.   16423 การผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง
    3.   16426 การสร้างสรรค์งานโฆษณา
    4.   16440 การเขียนสำหรับสื่อสิ่งพิมพ์
    5.   16441 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
    6.   16445 การจัดและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น
    7.   16446 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
    8.   16448 การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น
    9.   16449 การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง
    10. 16452 การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
    11. 16455 การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา
    12. 16457 การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
    13. 16458 การสร้างสรรค์และผลิตงานประชาสัมพันธ์
    14. 20001 ระบบการเรียนการสอน
    15. 20002 การพัฒนาพฤติกรรมเด็ก
    16. 27104 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
    17. 51102 การส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช
    18. 51105 การพยาบาลชุมชนและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
    19. 51207 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
    20. 51208 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
    21. 51309 การพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์
    22. 54107 การฝึกปฏิบัติงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออร์กอนอมิคส์
    23. 55307 การฝึกปฏิบัติเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชกรรมแผนไทย
    24. 55311 การฝึกปฏิบัติเวชกรรมและนวดแผนไทย
    25. 56302 การฝึกปฏิบัติชันสูตรสาธารณสุข
    26. 71114 การจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม
    27. 71215 การจัดการและเทคนิคการบริการในภัตตาคาร
    28. 71332 เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร
    29. 93438 การจัดการการผลิตธัญพืชและพืชอาหารสัตว์
    30. 93439 การจัดการการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม
    31. 93440 การผลิตและการจัดการพืชสวนประดับ
    32. 93441 การจัดการการผลิตไม้ผลและผัก
    33. 93446 การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก
    34. 93447 การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง
    35. 96401 ระบบสำนักงานอัตโนมัติ
    36. 96408 การจัดการระบบฐานข้อมูล
    37. 97403 เทคโนโลยีก่อนพิมพ์
    38. 97404 กระบวนการพิมพ์พื้นนูนและพื้นราบ
    39. 97405 กระบวนการพิมพ์พื้นลึก การพิมพ์พื้นฉลุลายผ้า และการพิมพ์ไร้แรงกด
    40. 97406 เทคนิคหลังพิมพ์
   หมายเหตุ 
  
* ชุดวิชา 93256 การฝึกปฏิบัติเสริมทักษะการผลิตพืช ชุดวิชา 93455 การฝึกปฏิบัติการจัดการการผลิตพืช เป็นชุดวิชาที่นักศึกษาต้องเข้ารับการฝึกปฏิบัติในวันและสถานทิ่ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
   **  นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนชุดวิชา 93257 ศัตรูเบี้องต้น แล้ว ห้ามลงทะเบียนเรียน ชุดวิชา 93336 การจัดการศัตรูพืช เป็นชุดวิชาเลือกเสรี

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (903)
   วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์ 2 ปี (90322)
     1. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือ อนุปริญญา หรือเทียบเท่า

           ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือปริญญาตรีทางด้านการเกษตร
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ชุดวิชา หรือ 72 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
    - บังคับ 8 ชุดวิชา
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 93343 หลักโภชนศาสตร์และอาหารสัตว์
  • 93344 วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์
  • 93345 การปรับปรุงพันธุ์และการสืบพันธุ์สัตว์
  • 93434 ระบบสารสนเทศและการวิจัยทางการเกษตร
  • 93446 การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก
  • 93447 การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง
  • 93448 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการผลิตสัตว์

    - และเลือกอีก 2 ชุดวิชา จากกลุ่มวิชาเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งต่อไปนี้ เพียงกลุ่มเดียว

    กลุ่มที่ 1 กลุ่มวิชาเฉพาะส่งเสริมการเกษตร
  • 91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 90202 การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
  • 90407 การพัฒนาชนบท
  • 91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร
  • 91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร
  • 91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร
  • 91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

    กลุ่มที่ 2 กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการเกษตร
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 94330 การจัดการผลิตผลและการแปรรูปผลิตผลเกษตร
  • 94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

    กลุ่มที่ 3 กลุ่มวิชาเฉพาะสหกรณ์
  • 92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 92217 ธนกิจและบัญชีสหกรณ์เพื่อการจัดการ
  • 92219 สหกรณ์การขาย การซื้อ และการบริการ
  • 92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์
  • 92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป
  • 92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

    กลุ่มที่ 4 กลุ่มวิชาเฉพาะการศึกษา
  • 91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 20202 วิทยาการการสอน
  • 20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
  • 21321 พฤติกรรมการสอนประถมศึกษา
  • 22301 พฤติกรรมการสอนมัธยมศึกษา
  • 24401 จิตวิทยาและสังคมวิทยาพื้นฐานเพื่อการวัดและประเมินผลการศึกษา
  • 25303 การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต

    ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
        เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือก
        เป็นชุดวิชาเลือกเสรี
    โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียน
        เป็นนักศึกษาแล้ว

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (903)
   วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์ 2 ปี (90322)
    2. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา

         หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า ในสาขาอื่น ที่ไม่ใช่ทางการเกษตร
 
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาเฉพาะ 13 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 15 ชุดวิชา หรือ 90 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาเฉพาะ 13 ชุดวิชา
    - บังคับ 11 ชุดวิชา
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90303 พืชเศรษฐกิจ
  • 90305 การผลิตสัตว์
  • 90406 ดิน นํ้า และปุ๋ย
  • 93343 หลักโภชนศาสตร์และอาหารสัตว์
  • 93344 วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์
  • 93345 การปรับปรุงพันธุ์และการสืบพันธุ์สัตว์
  • 93434 ระบบสารสนเทศและการวิจัยทางการเกษตร
  • 93446 การจัดการการผลิตสุกรและสัตว์ปีก
  • 93447 การจัดการการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง
  • 93448 ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการผลิตสัตว์ 

    - และเลือกอีก 2 ชุดวิชา จากกลุ่มวิชาเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งต่อไปนี้ เพียงกลุ่มเดียว

    กลุ่มที่ 1 กลุ่มวิชาเฉพาะส่งเสริมการเกษตร
  • 91108 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 90202 การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
  • 90407 การพัฒนาชนบท
  • 91209 การประชาสัมพันธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร
  • 91349 สารสนเทศและสื่อที่ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร
  • 91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร
  • 91415 วิธีการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร
  • 91451 การบริหารและนิเทศงานส่งเสริมการเกษตร

    กลุ่มที่ 2 กลุ่มวิชาเฉพาะธุรกิจการเกษตร
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 94330 การจัดการผลิตผลและการแปรรูปผลิตผลเกษตร
  • 94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร

    กลุ่มที่ 3 กลุ่มวิชาเฉพาะสหกรณ์
  • 92116 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสหกรณ์
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 92217 ธนกิจและบัญชีสหกรณ์เพื่อการจัดการ
  • 92219 สหกรณ์การขาย การซื้อ และการบริการ
  • 92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์
  • 92321 สหกรณ์การผลิตและสหกรณ์การแปรรูป
  • 92423 วิธีการวิจัยทางสหกรณ์

    กลุ่มที่ 4 กลุ่มวิชาเฉพาะการศึกษา
  • 91211 การศึกษาเกษตรและการส่งเสริมอาชีพเกษตร
    - และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
  • 20202 วิทยาการการสอน
  • 20301 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
  • 21321 พฤติกรรมการสอนประถมศึกษา
  • 22301 พฤติกรรมการสอนมัธยมศึกษา
  • 24401 จิตวิทยาและสังคมวิทยาพื้นฐานเพื่อการวัดและประเมินผลการศึกษา
  • 25303 การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต

    ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
        เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือก
        เป็นชุดวิชาเลือกเสรี
    โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียน
        เป็นนักศึกษาแล้ว

แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร (904)
   วิชาเอกธุรกิจการเกษตร 2 ปี (90412)
    1. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค

         (ปวท.) หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือปริญญาตรีทางด้านการเกษตร
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ชุดวิชา หรือ 72 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
  • 30202 หลักการบัญชี
  • 30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร
  • 94360 การจัดการการปฏิบัติการและทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจการเกษตร
  • 94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร
  • 94432 ระบบสารสนเทศและการวิจัยทางธุรกิจการเกษตร
  • 94433 ประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจการเกษตร
  • 94461 การเงินธุรกิจการเกษตร
  • 94462 ธุรกิจการเกษตรระหว่างประเทศ
    ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
        เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือก
        เป็นชุดวิชาเลือกเสรี
    โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียน
        เป็นนักศึกษาแล้ว

แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร (904)
   วิชาเอกธุรกิจการเกษตร 2 ปี (90412)
    2. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)
หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่า
         ทางด้านบัญชีการเงินและการธนาคาร หรือปริญญาตรีทางด้านบริหารธุรกิจ หรือ พาณิชยศาสตร์
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ชุดวิชา หรือ 72 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาเฉพาะ 10 ชุดวิชา
  • 60370 เศรษฐศาสตร์เกษตรและสหกรณ์
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90303 พืชเศรษฐกิจ
  • 90305 การผลิตสัตว์
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร
  • 94360 การจัดการการปฏิบัติการและทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจการเกษตร
  • 94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร
  • 94432 สารสนเทศและการวิจัยทางธุรกิจการเกษตร
  • 94433 ประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจการเกษตร
  • 94462 ธุรกิจการเกษตรระหว่างประเทศ
    ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
        เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือก
        เป็นชุดวิชาเลือกเสรี
    โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียน
        เป็นนักศึกษาแล้ว

แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร (904)
   วิชาเอกธุรกิจการเกษตร 2 ปี (90412)
    3. สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญา
        หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ทางด้านการเกษตร บัญชี การเงินและการธนาคาร หรือ ผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
        ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ทางด้านการเกษตร บริหารธุรกิจ หรือพาณิชยศาสตร์
โครงสร้างหลักสูตร
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
ข. หมวดวิชาเฉพาะ 13 ชุดวิชา
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
รวมตลอดหลักสูตรต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 15 ชุดวิชา หรือ 90 หน่วยกิต
รายละเอียดหลักสูตร
    ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 ชุดวิชา
  • 10151 ไทยศึกษา

    ข. หมวดวิชาเฉพาะ 13 ชุดวิชา
  • 30202 หลักการบัญชี
  • 30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร
  • 60370 เศรษฐศาสตร์เกษตรและสหกรณ์
  • 90201 การจัดการฟาร์ม
  • 90303 พืชเศรษฐกิจ
  • 90305 การผลิตสัตว์
  • 94329 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร
  • 94360 การจัดการการปฎิบัติการและทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจการเกษตร
  • 94431 การจัดการการตลาดสินค้าเกษตร
  • 94432 สารสนเทศและการวิจัยทางธุรกิจการเกษตร
  • 94433 ประสบการณ์วิชาชีพธุรกิจการเกษตร
  • 94461 การเงินธุรกิจการเกษตร
  • 94462 ธุรกิจการเกษตรระหว่างประเทศ
    ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา
        เลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ยกเว้นชุดวิชาที่สาขาวิชาไม่อนุญาตให้เลือก
        เป็นชุดวิชาเลือกเสรี
    โดยดูรายชื่อชุดวิชาจากเอกสารหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยจะจัดส่งให้เมื่อขึ้นทะเบียน
        เป็นนักศึกษาแล้ว
บนสุด/top   



คำแนะนำ
  มหาวิทยาลัยกำหนดโปรแกรมการลงทะเบียนเรียน ประจำภาคปลาย ปีการศึกษา  2549  เพื่อเป็น
แนวทางให้นักศึกษาตัดสินใจ
               เลือกชุดวิชาสำหรับ
ลงทะเบียนเรียน โดยนักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน  3  ชุดวิชา  แต่ไม่น้อยกว่า  1  ชุดวิชา
               ในแต่ละภาคการศึกษา
มีแนวทางการลงทะเบียนเรียน ดังนี้                   

               แนวทางที่  1  ลงทะเบียนเรียนตามโปรแกรมลงทะเบียนเรียน
ของสาขาวิชา
                  1.1 เลือกลงทะเบียนเรียนชุดวิชาตามโปรแกรมการลงทะเบียนเรียนที่สาขาวิชากำหนดให้ ในแต่ละภาคการศึกษา
                  1.2 ถ้าลงทะเบียนเรียนมากกว่า 1 ชุดวิชา ชุดวิชาที่ลงทะเบียนเรียนต้องไม่มีวันและคาบเวลาสอบตรงกัน
                        โดยดูจากตารางสอบไล่ประจำภาคการศึกษานั้น ๆ ประกอบการตัดสินใจเลือกชุดวิชาที่ลงทะเบียนเรียน

               แนวทางที่  2  ลงทะเบียนเรียนตามหมวดวิชาในโครงสร้างหลักสูตร
                  2.1 ให้ศึกษาชุดวิชาที่จะลงทะเบียนเรียนจากหมวดวิชาที่ปรากฏในโครงสร้างหลักสูตรตามวุฒิการศึกษาที่ใช้สมัคร
                  2.2 ควรลงทะเบียนเรียนชุดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปก่อน  ทั้งนี้เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจเนื้อหาชุดวิชา
                        ในระดับที่เป็นพื้นฐาน แล้วจึงเรียนชุดวิชาในหมวดวิชาแกน หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี (ถ้ามี)  ตามลำดับ

                  2.3 ชุดวิชาที่ลงทะเบียนเรียนต้องเป็นชุดวิชาที่เปิดสอนในภาคการศึกษานั้นๆ โดยดูรายชื่อชุดวิชาที่เปิดสอนจากตารางสอบไล่
                        ประจำภาคการศึกษา ที่ลงทะเบียนเรียน

                  2.4 ถ้าลงทะเบียนเรียนมากกว่า  1  ชุดวิชา  ให้ตรวจสอบกำหนดวันและคาบเวลาสอบ  ของชุดวิชานั้นๆจากตารางสอบไล่
                        ประจำภาคการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน  เนื่องจากมหาวิทยาลัยไม่อนุญาตให้นักศึกษาเข้าสอบมากกว่า  1  ชุดวิชา                                         ในวันและคาบเวลาสอบเดียวกัน
              สำหรับชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพเป็นชุดวิชาที่นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาสุดท้ายก่อนจบการศึกษาเท่านั้น  
       นั่นคือ นักศึกษาจะต้องเหลือ
ชุดวิชาที่ต้องศึกษาไม่เกิน 3 ชุดวิชา และจะต้องเข้ารับการอบรมเข้มเสริมประสบการณ์วิชาชีพที่มหาวิทยาลัย
       หรือสถานที่ที่มหาวิทยาลัยกำหนดโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาชุดวิชาดังกล่าว

หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี

 แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร
  วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 4 ปี รหัสวิชาเอก 90134
    1) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ม. 3 หรือ ม. 6 หรือเทียบเท่า หรือ ปวช. ประกาศนียบัตรพนักงานข้าวจัตวา
        ประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ (หลักสูตร 1 ปี 6 เดือน)

รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
10152 ไทยกับสังคมโลก
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น
และเลือก 1 ชุดวิชา จากชุดวิชาต่อไปนี้
10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
10161 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.

แขนงวิชาสหกรณ์
  วิชาเอกสหกรณ์ 4 ปี รหัสวิชาเอก
90214
    1) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ม.3 หรือ ม. 6 หรือเทียบเท่า หรือ ปวช. ประกาศนียบัตรพนักงานข้าวจัตวา
        ประกาศนียบัตรการศึกษาวิชาสหกรณ์ และประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ (หลักสูตร1 ปี 6 เดือน)
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
10151 ไทยศึกษา
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.

หลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2 ปี
แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร
  วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 2 ปี รหัสวิชาเอก
90132
     1) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. อนุปริญญา ปริญญาตรี สาขาวิชาเกษตรกรรม ป.ม.ก. ป.กศ. สูง วิชาเอกเกษตรกรรม วิชาเอกสหกรณ์
        ประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ ปวท.สาขาวิชาเกษตรกรรม ประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ (หลักสูตร2 ปี)
        ประกาศนียบัตรการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
10151 ไทยศึกษา
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์ และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร
  วิชาเอกส่งเสริมการเกษตร 2 ปี รหัสวิชาเอก
90132
     2) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือ ปวส. อนุปริญญาสาขาวิชาอื่นที่ไม่ใช่ สาขาวิชา เกษตรกรรม ประกาศนียบัตรวิชาช่างตรี
        ประกาศนียบัตรการชลประทาน ป.กศ. สูง วิชาเอกวิทยาศาสตร์ วิชาเอกอุตสาหกรรมศิลป์ ป.กศ. สูง วิชาโทเกษตรกรรม
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
10151 ไทยศึกษา
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
91350 การเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์ และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.

แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร
  วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้ และสิ่งแวดล้อม 2 ปี รหัสวิชาเอก
90142
      1) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการป่าไม้ อนุปริญญาทางวนศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ ปวส. ด้านเกษตรกรรม หรือเทียบเท่า ปริญญาตรีทางวนศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ หรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรีสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
10151 ไทยศึกษา
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
91325 นิเวศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
91357 พื้นฐานความรู้สิ่งแวดล้อม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร
  วิชาเอกส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม 2 ปี รหัสวิชาเอก
90142
      2) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่น ที่ไม่ใช่การเกษตร
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
10151 ไทยศึกษา
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
91325 นิเวศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
91357 พื้นฐานความรู้สิ่งแวดล้อม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.

แขนงวิชาสหกรณ์
   วิชาเอกสหกรณ์ 2 ปี รหัสวิชาเอก 90212
     1) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์ หรือทางด้านเกษตรศาสตร์
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
แขนงวิชาสหกรณ์
  วิชาเอกสหกรณ์ 2 ปี รหัสวิชาเอก
90212
     2) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. หรือ ป.กศ.สูง ทุกสาขาวิชา ประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย์ (หลักสูตร2 ปี) หรือ
         ปริญญาตรีอื่น ที่ไม่ใช่ทางด้านวิทยาศาสตร์ หรือทางด้านเกษตรศาสตร์
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
32414 การตลาดสินค้าเกษตรกรรมกับเศรษฐกิจของไทย
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
92320 การจัดและดำเนินงานการสหกรณ์
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
  วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช 2 ปี รหัสวิชาเอก
90312
     1) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่า ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือปริญญาตรีทางด้านการเกษตร หรือเทียบเท่า
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
93337 การปรับปรุงพันธุ์พืชและการขยายพันธุ์พืช
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
93353 การจัดการผลผลิตพืช
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
  วิชาเอกการจัดการการผลิตพืช 2 ปี รหัสวิชาเอก
90312
     2) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. หรือ อนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาอื่นที่ไม่ใช่ทางด้านการเกษตร
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
10151 ไทยศึกษา
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
93257 ศัตรูพืชเบื้องต้น
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.

แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
  วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์ 2 ปี รหัสวิชาเอก
90322
     1) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่า ประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือปริญญาตรีทางด้านการเกษตร
         หรือเทียบเท่า
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
93344 วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
93345 การปรับปรุงพันธุ์และการสืบพันธุ์สัตว์
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
แขนงวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
  วิชาเอกการจัดการการผลิตสัตว์ 2 ปี รหัสวิชาเอก
90322
     2) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาอื่นที่ไม่ใชทางด้านการเกษตร
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
93344 วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
93345 การปรับปรุงพันธุ์และการสืบพันธุ์สัตว์
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.

แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร
  วิชาเอกธุรกิจการเกษตร 2 ปี รหัสวิชาเอก
90412
     1) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส.หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าประเภทวิชาเกษตรกรรม หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่า
      ทางด้านการเกษตร
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
30202 หลักการบัญชี
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
30206 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร
  วิชาเอกธุรกิจการเกษตร 2 ปี รหัสวิชาเอก
90412
     2) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าทางด้านบัญชี   การเงินและการธนาคาร
          หรือปริญญาตรี ทางด้านบริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์
รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
10151 ไทยศึกษา
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
94360 การจัดการการปฎิบัติการและทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจการเกษตร
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
แขนงวิชาธุรกิจการเกษตร
  วิชาเอกธุรกิจการเกษตร 2 ปี รหัสวิชาเอก 90412

     3) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส. หรือ ปวท. หรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาอื่น ที่ไม่ใช่ทางด้านการเกษตร บัญชี การเงินและ
       การธนาคาร หรือปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่น ที่ไม่ใช่ทางด้านการเกษตร บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์

รหัสชุดวิชา - ชื่อชุดวิชา
วันสอบ
เวลาสอบ
10151 ไทยศึกษา
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
13.30 - 16.30 น.
30202 หลักการบัญชี
อาทิตย์ 29 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
90201 การจัดการฟาร์ม
เสาร์ 28 เม.ย. 2550
09.00 - 12.00 น.
บนสุด/top   



จัดทำโดย : ฝ่ายรับนักศึกษา สำนักทะเบียนและวัดผล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2545 ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537


e-mail ติดต่อ : ฝ่ายรับนักศึกษา / ad.reoffice@stou.ac.th