Back :: Next
2.4.2 การใช้ภาษา
2.4.2.2 การใช้คำเขียนความนำ
ในการเขียนความนำ อาจใช้กลุ่มคำนามที่มีลักษณะทั่วไปและเฉพาะเจาะจง กลุ่มคำนามที่มีลักษณะทั่วไป (general noun phrases) ต้องตรวจสอบลักษณะของกลุ่มคำนามนั้นว่าเป็นนามนับได้ หรือนับไม่ได้ และการใช้คำกำกับนามต่าง ๆ (determiners) article a an the ความหมายของการใช้ definite article ‘the’ หรือการใช้กริยาเติม s เมื่อประธานเป็นเอกพจน์ใน present simple tense
กลุ่มคำนามที่มีลักษณะทั่วไปและเฉพาะเจาะจง (specific noun phrases) เป็นการอ้างถึงเรื่องเฉพาะหรือเรื่องที่รู้กันอยู่ (shared information) หรืออ้างถึงข้อมูลเดิม หรืออ้างไปสู่ข้อมูลใหม่ การอ้างถึงข้อมูลเดิมอาจใช้วิธีการ ใช้คำซ้ำ หรือการใช้คำที่แสดงกลุ่ม (derivation) ใช้คำสรรพนามอ้างถึง (referents) และ pointing words (this, that) หรือกล่าวเป็นนัยยะถึงข้อมูลเดิม
2.4 Introduction (ความนำ)
2.4.2.2 การใช้คำเขียนความนำ
ในการเขียนความนำ อาจใช้กลุ่มคำนามที่มีลักษณะทั่วไปและเฉพาะเจาะจง กลุ่มคำนามที่มีลักษณะทั่วไป (general noun phrases) ต้องตรวจสอบลักษณะของกลุ่มคำนามนั้นว่าเป็นนามนับได้ หรือนับไม่ได้ และการใช้คำกำกับนามต่าง ๆ (determiners) article a an the ความหมายของการใช้ definite article ‘the’ หรือการใช้กริยาเติม s เมื่อประธานเป็นเอกพจน์ใน present simple tense
กลุ่มคำนามที่มีลักษณะทั่วไปและเฉพาะเจาะจง (specific noun phrases) เป็นการอ้างถึงเรื่องเฉพาะหรือเรื่องที่รู้กันอยู่ (shared information) หรืออ้างถึงข้อมูลเดิม หรืออ้างไปสู่ข้อมูลใหม่ การอ้างถึงข้อมูลเดิมอาจใช้วิธีการ ใช้คำซ้ำ หรือการใช้คำที่แสดงกลุ่ม (derivation) ใช้คำสรรพนามอ้างถึง (referents) และ pointing words (this, that) หรือกล่าวเป็นนัยยะถึงข้อมูลเดิม
โครงสร้างของบทความ
การเขียนส่วนต่างๆ ของบทความ
- Title
- Author(s)
- Abstract
- Introduction
- Literature Review
- Methodology
- Results
- Discussions
- References
- Appendices