หน้าแรกสำนักวิชาการ  |  หน้าแรกมสธ.

 

ยินดีต้อนรับ
ผลการประเมินองค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
ตัวบ่งชี้ที่ 7.4

มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว้ให้บุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ (สกอ. 7.4) (ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของหน่วยงาน)

  เกณฑ์มาตรฐาน
ปิดเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมดl | เปิดเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด
  1. มี การจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เป็นรูปธรรมภายใต้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช พ . ศ .2551 – 2554 โดยในปี พ . ศ .2552 มหาวิทยาลัยได้กำหนดโครงการหลักเพื่อบริหารทรัพยากรบุคคล
จำนวน 4 โครงการ ภายใต้ยุทธศาสตร์ ดังต่อไปนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
(HRM ; Human Resources Management)
 

โครงการ 1.1 : โครงการเตรียมความพร้อมระบบบริหารงานทรัพยากร

  บุคคล เพื่อรองรับการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(HRD ; Human Resources Development)
 

โครงการที่ 2.1 : โครงการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ

  เพื่อจัดทำสมรรถนะบุคลากรของแต่ละสายงาน
  โครงการที่ 2.2 : โครงการพัฒนาบุคคลากร มสธ . สายวิชาการ
  และสายสนับสนุนวิชาการ ตามกรอบ Competency
  โครงการที่ 2.3 : โครงการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย (KM)
แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ . ศ .2551-2554
มสธ .7.4-1 (2)
์รายงานการประชุมของคณะทำงานของ มหาวิทยาลัยในกำกับ
มสธ .7.4-1 (3)
การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อจัดทำสมรรถนะบุคลากร
  ของแต่ละสายงาน
มสธ .7.4-1 (4)
แผนพัฒนาบุคคลากร มสธ . สายวิชาการ
  (จากฝ่ายพัฒนาคณาจารย์ ) และสายสนับสนุนวิชาการ
  (จากกองการเจ้าหน้าที่ )
แผนการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย (KM)
  2. มี ระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เป็นการส่งเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน เช่น
การสรรหา การจัดวางคนลงตําแหน่ง การกําหนดเส้นทางเดินของตําแหน่ง การสนับสนุนเข้าร่วมประชุมฝึกอบรม
และหรือเสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรการสร้างขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ
รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี ระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เป็นการส่งเสริมสมรรถนะ
ในการปฏิบัติงาน เช่น การสรรหา การจัดวางคนลงตําแหน่ง การกําหนด
เส้นทางเดินของตําแหน่ง การสนับสนุนเข้าร่วมประชุมฝึกอบรมและหรือ
เสนอผลงานทางวิชาการ ซึ่งเป็นความรับผิดชอบของกองการเจ้าหน้าที่
ของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังมีระบบการประเมินผล
การปฏิบัติงาน และการสร้างขวัญกำลังใจ ดังนี้
ุ2.1 การสรรหา มีระบบและกลไก ดังนี้
  - หน่วยงานที่ต้องการสรรหาบุคลากรในตำแหน่งต่างๆ ส่งเรื่องให้
กองการเจ้าหน้าที่เพื่อเสนอให้ กพอ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พิจารณาพร้อมทั้ง แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อทำหน้าที่ในการคัดเลือก
  - เมื่อคณะกรรมการได้ดำเนินการคัดเลือกเสร็จแล้ว จะต้องนำเสนอ
ต่อที่ประชุม กพอ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เพื่อพิจารณา
ผลการคัดเลือก
2.2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน มีระบบและกลไก ดังนี้
  - การประเมินผลการทดลองการปฏิบัติงานของพนักงาน
  - การประเมินเพื่อคัดเลือกผู้ดำรงตำแหน่งหัวหน้างานและ
ฝ่ายหรือเทียบเท่าจากระดับ 6 เป็นระดับ 7
  - การประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
2.3 การสนับสนุนการเข้าร่วมฝึกอบรม และการพัฒนาบุคลากร
มีระบบและกลไก ดังน
ี้
  - มีฝ่ายพัฒนาคณาจารย์ สำนักวิชาการ เป็นหน่วยงานหลัก
ที่รับผิดชอบการฝึกอบรม สัมมนา เพื่อพัฒนาคณาจารย์
โดยตรง
  - มีเงินกองทุน มสธ. 12 ปี สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรของ
ทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย โดยมีคณะกรรมการกองทุน
เป็นผู้กำหนดหลักเกณฑ์ และแนวทางจัดสรรเงินให้แก
่หน่วยงานต่างๆ โดยใช้ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา
ภายในเป็นส่วนหนึ่ง ในการพิจารณาจัดสรรในทุกปี
  - มีคณะกรรมการพัฒนาคณาจารย์ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ในการกำหนดทิศทาง ในการพัฒนาคณาจารย์ของ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  - มีการให้ทุนการศึกษาต่อทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  - มีทุนการฝึกอบรมสัมมนาระยะสั้นในต่างประเทศ สำหรับ
การพัฒนาคณาจารย์
  - มีการจัดสรรงบประมาณพัฒนาบุคลากรในเรื่องทั่วๆไป
ไว้ที่กองการเจ้าหน้าที่
2.4 การสร้างขวัญและกำลังใจ ดังนี้
  - มีการคัดเลือกบุคลากรดีเด่นกลุ่มข้าราชการ
  - มีการคัดเลือกบุคลากรดีเด่นกลุ่มพนักงาน
  - มีการคัดเลือกบุคลากรดีเด่นกลุ่มลูกจ้างประจำ
งบประมาณเงินแผ่นดิน
  - มีการคัดเลือกบุคลากรดีเด่นกลุ่มลูกจ้างประจำเงินนอกงบประมาณ
ทั้งนี้ได้มีการยกย่องบุคคลที่ได้ประกอบคุณงามความดีผ่านสื่อต่างๆ
และเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
2.5 การลงโทษ มีระบบและกลไกที่ปรากฏตามกฎหมาย ดังนี้
  - สำหรับข้าราชการ ได้กำหนดบทลงโทษไว้ใน หมวด 5 และ 6
ของ พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547
  - สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยได้กำหนดบทลงโทษไว้ใน หมวด 6
และ 7ของข้อบังคับหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ว่าด้วย
การบริหารงานบุคคลสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ.2547
  - สำหรับลูกจ้างได้กำหนดบทลงโทษไว้ใน ส่วนที่ 5และ 6
ของข้อบังคับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ว่าด้วย
การบริหารงานบุคคลสำหรับลูกจ้างเงินรายได้ พ.ศ.2547
มสธ.7.4-2(1) เว็บไซต์กองการเจ้าหน้าที่
http://eservice.stou.ac.th/ EDOCUMENT/OPR/Personal
/News/index.htm
http://www.stou.ac.th
ประกาศมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เรื่อง รับสมัครคัดเลือกเพื่อรับโอนข้าราชการพลเรือน
ในสถาบันอุดมศึกษา มาแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
อาจารย์ เพื่อจ้างบุคคลเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย
ตำแหน่งอาจารย์ ลงวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2551
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการคัดเลือกบุคคล
เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอาจารย์
เกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือนที่ อ.ก.ม. กำหนดเพิ่มเติม
การกำหนดระยะเวลาการจัดส่งต้นฉบับเอกสารการสอน
  ชุดวิชาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน
แผนปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือนปี 2552
ประกาศมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เรื่อง
  แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน
  มหาวิทยาลัย
หลักเกณฑ์การเพิ่มค่าจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย
  ปีงบประมาณ 2552
หนังสือทบวงมหาวิทยาลัย ที่ ทม.0202/ว12 ลงวันที่ 2
  มีนาคม 2542
อ้างถึง ตัวบ่งชี้ที่ 7.9.2
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ว่าด้วย
  การบริหารงานบุคคลสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย
  พ.ศ.2547
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ว่าด้วย
  การบริหารงานบุคคลสำหรับลูกจ้างเงินรายได้ พ.ศ.2547
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
  ในสถาบันอุดมศึกษา ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551
มติที่ประชุม ก.พ.อ. มสธ. ครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 19
  มกราคม 2553 เห็นชอบผลการคัดเลือกบุคลากรดีเด่น
  ทุกประเภท
  3. มี ระบบสวัสดิการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างบรรยากาศที่ดีให้บุคลากรทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และอยู่อย่างมีความสุข
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี ระบบสวัสดิการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและสร้างบรรยากาศที่ดีให้ บุคลากรทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและอยู่อย่างมีความสุข ดังนี้
3.1
สวัสดิการเงินกู้เพื่อเคหะสงเคราะห์
3.2
สวัสดิการสงเคราะห์ด้านที่อยู่อาศัย โดยให้บริการเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ
เพื่อที่อยู่อาศัย สำหรับข้าราชการ ลูกจ้างประจำที่ยังไม่มีที่อยู่อาศัย เป็นของตนเอง
3.3

สวัสดิการรถรับ - ส่งบุคลากร โดยจัดรถบริการรับส่งบุคลากรของ
มหาวิทยาลัยในการเดินทางมาปฏิบัติราชการ จำนวน 10 เส้นทาง

3.4
สวัสดิการเงินยืมฉุกเฉิน
3.5
สวัสดิการกองทุนเงินทดแทน
3.6
สวัสดิการค่าเช่าบ้านข้าราชการ
3.7

สวัสดิการชุดปฏิบัติงาน

3.8
สวัสดิการช่วยเหลือค่าตัดชุดปกติขาว
3.9
สวัสดิการน้ำดื่ม
3.10

สวัสดิการประกันสังคม

3.11
สวัสดิการด้านสุขภาพอนามัย : ห้องพยาบาล
- โครงการตรวจสุขภาพบุคลากรประจำปี ปีละ 1 ครั้ง
- โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ( โยคะและแอโรบิก )
สัปดาห์ละ 5 วัน
3.12
สวัสดิการเงินกู้
- สวัสดิการเงินกู้ ธอส .- กบข .
 

- สวัสดิการเงินกู้ ธอท .- กบข

การสร้างบรรยากาศที่ดีให้บุคลากรทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย

 

• ให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมเสนอค่านิยม มสธ . (stou Way) 3 ครั้ง จนกระทั่งได้ค่านิยมร่วมที่เรียกว่า smart value

  • มีการตรวจสภาพสิ่งแวดล้อม ในการทำงานมหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช โดยสำนักงานบริการเทคโนโลยีสาธารณสุข
และสิ่งแวดล้อม ของคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

http://eservice.stou.ac.th/ EDOCUMENT/
OPR/Personal/News/Sawadikarn.html

มสธ .7.4-3 (2)

ผลการดำเนินงานในการจัดสวัสดิการต่างๆ ในปี 2552 ของมหาวิทยาลัย

กฎหมาย ระเบียบ ประกาศที่เกี่ยวข้องงานสวัสดิการ
 

http://eservice.stou.ac.th/ EDOCUMENT/
OPR/Personal/ News/Personel/welfare.asp

รายงานการประชุมที่ประชุมผู้บริหาร ครั้งที่ 11/25 52
เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2552

มสธ .7.4-3 (5)
รายงานการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงานมหาวิทยาลัย
  สุโขทัยธรรมาธิราช โดย สำนักงานบริการเทคโนโลยี
  สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมของคณะสาธารณสุขศาสตร์
  มหาวิทยาลัยมหิดล
4. มีระบบส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงให้มีโอกาสประสบความสําเร็จและก้าวหน้าในอาชีพ
อย่างรวดเร็วตามสายงาน

การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี ระบบส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงให้มีโอกาสประสบความสําเร็จ
และก้าวหน้าในอาชีพอย่างรวดเร็วตามสายงาน ดังนี้

4.1
มีหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคลากรสายวิชาการ
ให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์
และศาสตราจารย์
4.2
มีหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคลากรสายสนับสนุน
ให้ดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้ชำนาญการพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญ
และผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
4.3
มีการประเมินเพื่อคัดเลือกผู้อำนวยการสำนัก / สถาบัน / กอง / ศูนย์
โดยเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดเข้ามาส
ู่กระบวนการคัดเลือกตามความสมัครใจ
มสธ .7.4-4 (1)
อ้างถึง มสธ . 7.2-1(1), 7.2-1(3) และ 7.2-1(4)
ประกาศ ก .พ . อ . เรื่องมาตรฐานการกำหนด
ระดับตำแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น
หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคลากรสายวิชาการ
หลักเกณฑ์และวิธีการเสนอขอกำหนดตำแหน่งผู้ชำนาญการ / ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9
5. มี การประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอย่างเป็นระบบ
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มหาวิทยาลัยได้มีการประเมินความพึงพอใจ ของบุคลากรที่มีต่อการปฏิบัติงาน
อย่างเป็นระบบ ครอบคลุมสวัสดิการ บรรยากาศในการทำงาน และความก้าวหน้า
ในการทำงาน โดยกองการเจ้าหน้าที่ ศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา
และสถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ร่วมกันออกแบบสำรวจความพึงพอใจที่มีต่อสวัสดิการ
บรรยากาศในการทำงาน และความก้าวหน้าในการทำงานและนำไปเก็บข้อมูลจริง
ในช่วงเดือน ก . ย . ถึง ต . ค . 52 โดยแจกแบบสอบถามไปยังทุกหน่วยงานภายใน
มหาวิทยาลัย ซึ่งได้แบบสอบถามตอบกลับจากทุกหน่วยงานรวมทั้งสิ้น 910 คน
มสธ .7.4-5(1)
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของบุคลากร มสธ .
ที่มีต่อการปฏิบัติงานในมสธ .
6. มี การนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผู้บริหารระดับสูงและมีแนวทางในการปรับปรุง
พัฒนาเพื่อให้ดีขึ้น
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี การนำเสนอผลประเมินความพึงพอใจต่อที่ประชุมผู้บริหารมหาวิทยาลัย
และได้นำความคิดเห็นของบุคลากรในข้อ 5 มาดำเนินการปรับปรุงแก้ไข
ในเรื่องที่สำคัญ ดังนี้
1.
ปรับปรุงห้องอาหารปาริชาติ เพื่อให้มีมาตรฐานถูกสุขลักษณะ
โดยได้รับใบประกาศนียบัตร food safety จากกระทรวงสาธารณสุข
2.
การตรวจสุขภาพประจำปี ได้มีการรณรงค์ป้องกันไข้หวัดใหญ่ 2009
และให้บุคลากรฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่
3.
ปรับปรุงเส้นทางรถสวัสดิการ เพื่อให้ครอบคลุมเส้นทางยิ่งขึ้น พร้อมเปลี่ยน
จากรถบัสพัดลม และรถบัสปรับอากาศจากเดิม 3 เส้นทางเป็น รถบัส
ปรับอากาศทุกเส้นทาง
4.

 

จัดรถไฟฟ้า เพื่อรับส่งบุคลากรระหว่างอาคารต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย
จำนวน 3 คัน
ใบประกาศนียบัตร food safety จากกระทรวงสาธารณสุข
มสธ .7.4-6 (2)
หนังสือเวียน / การจัดซื้อเจลล้างมือ
มสธ .7.4-6 (3)
มติคณะกรรมการสวัสดิการในการประชุม
มสธ .7.4-6 (4)
TOR การจัดจ้างรถบัสปรับอากาศ
มสธ .7.4-6 (5)
มติที่ประชุมผู้บริหาร
  คะแนนการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้
 
1 คะแนน
2 คะแนน
3 คะแนน
มีการดำเนินการ
ไม่ครบ 3 ข้อแรก
มีการดำเนินการ
3 - 4 ข้อแรก
มีการดำเนินการ
อย่างน้อย 5 ข้อแรก
  ผลการประเมิน
 
ปีงบประมาณ 2552
การบรรลุ
เป้าหมาย
คะแนนการประเมิน
อิงเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้
ผลจากการประเมิน
ตนเอง
ผลจากการประเมิน
ของคณะผู้ประเมิน
ค่าเป้าหมาย
5 ข้อแรก
3
3
ผลการดำเนินงาน
ครบทุกข้อ
* การบรรลุเป้าหมาย
= บรรลุเป้าหมาย
= ไม่บรรลุเป้าหมาย