หน้าแรกสำนักวิชาการ  |  หน้าแรกมสธ.

 

ยินดีต้อนรับ
องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1

มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
(สกอ. 9.1 และ สมศ. 7.1)

  เกณฑ์มาตรฐาน
ปิดเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมดl | เปิดเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด
  1. มี ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมกับระดับการพัฒนาของสถาบัน
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
1.
มี คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย
ระดับ สาขาวิชา และระดับสำนัก/สถาบัน
2.
มี คณะกรรมการและคณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ
การศึกษาระดับสำนัก
3.
มี การประกันคุณภาพการศึกษาตามมหาวิทยาลัยซึ่งมีองค์ประกอบ
และตัว บ่งชี้การประกันคุณภาพที่ครอบคลุมทั้ง สกอ. สมศ. และ ก.พ.ร.
4.
มี ระบบประกันคุณภาพการศึกษา ระดับสำนัก จำนวน 4 องค์ประกอบ
13 ตัวบ่งชี้
5.
มี ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสำนักตามวงจร PDCA และ
มี การดำเนินงานการประกันคุณภาพ การศึกษา ประจำปีตามปฏิทิน
ที่ศูนย์ ประสานงานการประกันคุณภาพการ ศึกษากำหนด
สว.9.1-1(1)
คำสั่งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่ 3122/2552
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา
ระดับสำนักสำนักวิชาการ
สว.9.1-1(2)

์คำสั่งสำนักวิชาการที่ 1407/2550 เรื่องแต่งตั้งคณะทำงาน
จัดทำคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาและรายงานการประเมิน
ตนเอง

สว.9.1-1(3)
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปีการศึกษา 2552
สว.9.1-1(4)
ปฏิทินกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปีการศึกษา 2552
  2. มี การกําหนดนโยบายและให้ความสําคัญเรื่องการประกัน ุณภาพจากคณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุด
ของสถาบัน ภายใต้การมีส่วนร่วมจากภาคีทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี การกำหนดนโนบายการประกันคุณภาพ โดยศูนย์ประสานงาน
การประกันคุณภาพการศึกษาได้เชิญผู้บริหารสำนักและผู้ที่ได้รับมอบหมาย
เข้าประชุมเตรียมความพร้อมเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ประจำปีการศึกษา 2552
สว.9.1-2(1)
หนังสือเชิญประชุมที่ ศธ 0522.13/ว16 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2553 เรื่องการประชุมเตรียมความพร้อมเพื่อการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552 และการรับฟังความเห็นการเลือกกลุ่มสถาบัน เพื่อรองรับ
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก รอบสาม
สว.9.1-2(2)
หนังสือเชิญประชุมคณะทำงานจัดทำคู่มือประกันคุณภาพ
การศึกษาและรายงานการประเมินตนเองของสำนักวิชาการ
จำนวน 13 คนเข้าประชุม
  3. มี การกําหนดมาตรฐานตัวบ่งชี้ และเกณฑ์คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้อง และสอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี การกำหนดกรอบการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในที่สอดคล้อง
กับมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานคุณภาพของ สมศ. และ ก.พ.ร. และได้เพิ่ม
ตัวบ่งชี้ที่สะท้อนพันธกิจของสำนักวิชาการ เพื่อให้สามารถรองรับ การตรวจประเมิน
คุณภาพโดย สกอ. สมศ. และ ก.พ.ร. ได้อย่างเหมาะสม
สว.9.1-3(1)

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปีการศึกษา 2552

4. มี การดําเนินงานด้านการประกันคุณภาพที่ครบถ้วน ทั้งการ ควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ
อย่างต่อเนื่องเป็นประจํา (อย่างน้อย 3 ปี นับรวมปีที่มีการติดตาม)
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
1.
มี การพัฒนาและการควบคุมคุณภาพอิงตามรูปแบบที่ศูนย์ประกัน
ออกแบบไว้ รูปแบบการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR)
ระดับสำนัก เพื่อรองรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาประจำป
ีการศึกษา 2552
2.
มี การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ
ทุกปี โดยจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีตั้งแต่ปีการศึกษา
2546 เป็นต้นมา
สว.9.1-4(1)

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปีการศึกษา 2552

สว.9.1-4(2)
หนังสือเชิญประชุมคณะทำงานจัดทำคู่มือประกันคุณภาพ
การศึกษาและรายงานการประเมินตนเองของสำนักวิชาการ
จำนวน 13 คนเข้าประชุม
สว.9.1-4(3)
รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปี 2546-2552
สว.9.1-4(4)
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ของสำนักวิชาการ
5. มี การนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี การนำผลการประเมินคุณภาพภายในรวมทั้งข้อเสนอแนะจากคณะ
ผู้ประเมินมาพัฒนาการดำเนินงาน โดยได้แสดงไว้อย่างชัดเจนใน SAR ส่วนที่ 1
การนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงาน
ดังนี้
1.
มีการดำเนินงานให้ครบตามเกณฑ์การประเมินทุกข้อ เช่น ตัวบ่งชี้ที่ 1.
2.
มีแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในระบบที่ 2 ระบบการเรียนการสอน
3.
มีการประเมินความพึงพอใจบุคลากรในการทำงานที่สำนักวิชาการ
4.
มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2552
5.
มีคณะทำงานจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรของสำนักวิชาการ
สว.9.1-5(1)

รายงานการประชุมคณะทำงานจัดทำคู่มือประกันคุณภาพ
การศึกษาและรายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 1/2553
วันที่ 9 มีนาคม 2553 และครั้งที่ 2/2553 วันที่ 7
พฤษภาคม 2553

สว.9.1-5(2)
แผนบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ระดับหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 สำนักวิชาการ (แบบ บสน.1)
สว.9.1-5(3)
แบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจของบุคลากรสำนักวิชาการ
ที่มีต่อการปฏิบัติงานในสำนักวิชาการ
สว.9.1-5(4)
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ของฝ่ายและสำนักงานเลขานุการ
สว.9.1-5(5)
คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร
ของสำนักวิชาการ
6. มี ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา และใช้ร่วมกันทั้งระดับบุคคล ภาควิชา
คณะ และสถาบัน
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา
เพื่อให้หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยใช้ร่วมกัน ได้แก่ ข้อมูลหลักสูตร
ข้อมูลรายงานความก้าวหน้าการผลิต/ปรับปรุงชุดวิชาบนระบบเครือข่าย
ทั้ง Internet และ Intranet
สว.9.1-6(1)
ข้อมูลหลักสูตรจาก Web site ของมหาวิทยาลัยสุโขทัย-
ธรรมาธิราช http://www.stou.ac.th/Offices/Oaa/
OaaOldPage/Professional/Train_Professinoal/
oaaInfo/oaa/Dept/Dept04/all home.htm/
สว.9.1-6(2)
ข้อมูลติดตามการผลิตชุดวิชาจาก Web site ของมหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช
7. มี ระบบส่งเสริมการสร้างเครือข่ายด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างหน่วยงาน ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
การประเมินตนเอง
หลักฐานอ้างอิง
มี การส่งเสริมการสร้างเครือข่าย ประกันคุณภาพระหว่างหน่วยงาน
โดยจัดให้มีการศึกษาดูงานที่มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเพื่อศึกษาและ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องของการประกันคุณภาพการศึกษา
สว.9.1-7(1)
หนังสือถึงอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ที่ ศธ 0522.05(01)/1412 วันที่ 24 มีนาคม 2552
เรื่อง ขออนุญาตเข้าศึกษาดูงาน
  คะแนนการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้
 
1 คะแนน
2 คะแนน
3 คะแนน
มีการดำเนินการ
ไม่ครบ 4 ข้อแรก
มีการดำเนินการ
4 ข้อแรก
มีการดำเนินการ
อย่างน้อย 5 ข้อแรก
  ผลการประเมิน
 
ปีงบประมาณ 2552
การบรรลุ
เป้าหมาย
คะแนนการประเมิน
อิงเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้
ผลจากการประเมิน
ตนเอง
ผลจากการประเมิน
ของคณะผู้ประเมิน
ค่าเป้าหมาย
5 ข้อแรก
3
3
ผลการดำเนินงาน
ครบทุกข้อ
* การบรรลุเป้าหมาย
= บรรลุเป้าหมาย
= ไม่บรรลุเป้าหมาย